Background: #fff
Foreground: #000
PrimaryPale: #8cf
PrimaryLight: #18f
PrimaryMid: #04b
PrimaryDark: #014
SecondaryPale: #ffc
SecondaryLight: #fe8
SecondaryMid: #db4
SecondaryDark: #841
TertiaryPale: #eee
TertiaryLight: #ccc
TertiaryMid: #999
TertiaryDark: #666
Error: #f88
/*{{{*/
body {background:[[ColorPalette::Background]]; color:[[ColorPalette::Foreground]];}

a {color:[[ColorPalette::PrimaryMid]];}
a:hover {background-color:[[ColorPalette::PrimaryMid]]; color:[[ColorPalette::Background]];}
a img {border:0;}

h1,h2,h3,h4,h5,h6 {color:[[ColorPalette::SecondaryDark]]; background:transparent;}
h1 {border-bottom:2px solid [[ColorPalette::TertiaryLight]];}
h2,h3 {border-bottom:1px solid [[ColorPalette::TertiaryLight]];}

.button {color:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; border:1px solid [[ColorPalette::Background]];}
.button:hover {color:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; background:[[ColorPalette::SecondaryLight]]; border-color:[[ColorPalette::SecondaryMid]];}
.button:active {color:[[ColorPalette::Background]]; background:[[ColorPalette::SecondaryMid]]; border:1px solid [[ColorPalette::SecondaryDark]];}

.header {background:[[ColorPalette::PrimaryMid]];}
.headerShadow {color:[[ColorPalette::Foreground]];}
.headerShadow a {font-weight:normal; color:[[ColorPalette::Foreground]];}
.headerForeground {color:[[ColorPalette::Background]];}
.headerForeground a {font-weight:normal; color:[[ColorPalette::PrimaryPale]];}

.tabSelected{color:[[ColorPalette::PrimaryDark]];
	background:[[ColorPalette::TertiaryPale]];
	border-left:1px solid [[ColorPalette::TertiaryLight]];
	border-top:1px solid [[ColorPalette::TertiaryLight]];
	border-right:1px solid [[ColorPalette::TertiaryLight]];
}
.tabUnselected {color:[[ColorPalette::Background]]; background:[[ColorPalette::TertiaryMid]];}
.tabContents {color:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; background:[[ColorPalette::TertiaryPale]]; border:1px solid [[ColorPalette::TertiaryLight]];}
.tabContents .button {border:0;}

#sidebar {}
#sidebarOptions input {border:1px solid [[ColorPalette::PrimaryMid]];}
#sidebarOptions .sliderPanel {background:[[ColorPalette::PrimaryPale]];}
#sidebarOptions .sliderPanel a {border:none;color:[[ColorPalette::PrimaryMid]];}
#sidebarOptions .sliderPanel a:hover {color:[[ColorPalette::Background]]; background:[[ColorPalette::PrimaryMid]];}
#sidebarOptions .sliderPanel a:active {color:[[ColorPalette::PrimaryMid]]; background:[[ColorPalette::Background]];}

.wizard {background:[[ColorPalette::PrimaryPale]]; border:1px solid [[ColorPalette::PrimaryMid]];}
.wizard h1 {color:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; border:none;}
.wizard h2 {color:[[ColorPalette::Foreground]]; border:none;}
.wizardStep {background:[[ColorPalette::Background]]; color:[[ColorPalette::Foreground]];
	border:1px solid [[ColorPalette::PrimaryMid]];}
.wizardStep.wizardStepDone {background::[[ColorPalette::TertiaryLight]];}
.wizardFooter {background:[[ColorPalette::PrimaryPale]];}
.wizardFooter .status {background:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; color:[[ColorPalette::Background]];}
.wizard .button {color:[[ColorPalette::Foreground]]; background:[[ColorPalette::SecondaryLight]]; border: 1px solid;
	border-color:[[ColorPalette::SecondaryPale]] [[ColorPalette::SecondaryDark]] [[ColorPalette::SecondaryDark]] [[ColorPalette::SecondaryPale]];}
.wizard .button:hover {color:[[ColorPalette::Foreground]]; background:[[ColorPalette::Background]];}
.wizard .button:active {color:[[ColorPalette::Background]]; background:[[ColorPalette::Foreground]]; border: 1px solid;
	border-color:[[ColorPalette::PrimaryDark]] [[ColorPalette::PrimaryPale]] [[ColorPalette::PrimaryPale]] [[ColorPalette::PrimaryDark]];}

#messageArea {border:1px solid [[ColorPalette::SecondaryMid]]; background:[[ColorPalette::SecondaryLight]]; color:[[ColorPalette::Foreground]];}
#messageArea .button {color:[[ColorPalette::PrimaryMid]]; background:[[ColorPalette::SecondaryPale]]; border:none;}

.popupTiddler {background:[[ColorPalette::TertiaryPale]]; border:2px solid [[ColorPalette::TertiaryMid]];}

.popup {background:[[ColorPalette::TertiaryPale]]; color:[[ColorPalette::TertiaryDark]]; border-left:1px solid [[ColorPalette::TertiaryMid]]; border-top:1px solid [[ColorPalette::TertiaryMid]]; border-right:2px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]]; border-bottom:2px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]];}
.popup hr {color:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; background:[[ColorPalette::PrimaryDark]]; border-bottom:1px;}
.popup li.disabled {color:[[ColorPalette::TertiaryMid]];}
.popup li a, .popup li a:visited {color:[[ColorPalette::Foreground]]; border: none;}
.popup li a:hover {background:[[ColorPalette::SecondaryLight]]; color:[[ColorPalette::Foreground]]; border: none;}
.popup li a:active {background:[[ColorPalette::SecondaryPale]]; color:[[ColorPalette::Foreground]]; border: none;}
.popupHighlight {background:[[ColorPalette::Background]]; color:[[ColorPalette::Foreground]];}
.listBreak div {border-bottom:1px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]];}

.tiddler .defaultCommand {font-weight:bold;}

.shadow .title {color:[[ColorPalette::TertiaryDark]];}

.title {color:[[ColorPalette::SecondaryDark]];}
.subtitle {color:[[ColorPalette::TertiaryDark]];}

.toolbar {color:[[ColorPalette::PrimaryMid]];}
.toolbar a {color:[[ColorPalette::TertiaryLight]];}
.selected .toolbar a {color:[[ColorPalette::TertiaryMid]];}
.selected .toolbar a:hover {color:[[ColorPalette::Foreground]];}

.tagging, .tagged {border:1px solid [[ColorPalette::TertiaryPale]]; background-color:[[ColorPalette::TertiaryPale]];}
.selected .tagging, .selected .tagged {background-color:[[ColorPalette::TertiaryLight]]; border:1px solid [[ColorPalette::TertiaryMid]];}
.tagging .listTitle, .tagged .listTitle {color:[[ColorPalette::PrimaryDark]];}
.tagging .button, .tagged .button {border:none;}

.footer {color:[[ColorPalette::TertiaryLight]];}
.selected .footer {color:[[ColorPalette::TertiaryMid]];}

.sparkline {background:[[ColorPalette::PrimaryPale]]; border:0;}
.sparktick {background:[[ColorPalette::PrimaryDark]];}

.error, .errorButton {color:[[ColorPalette::Foreground]]; background:[[ColorPalette::Error]];}
.warning {color:[[ColorPalette::Foreground]]; background:[[ColorPalette::SecondaryPale]];}
.lowlight {background:[[ColorPalette::TertiaryLight]];}

.zoomer {background:none; color:[[ColorPalette::TertiaryMid]]; border:3px solid [[ColorPalette::TertiaryMid]];}

.imageLink, #displayArea .imageLink {background:transparent;}

.annotation {background:[[ColorPalette::SecondaryLight]]; color:[[ColorPalette::Foreground]]; border:2px solid [[ColorPalette::SecondaryMid]];}

.viewer .listTitle {list-style-type:none; margin-left:-2em;}
.viewer .button {border:1px solid [[ColorPalette::SecondaryMid]];}
.viewer blockquote {border-left:3px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]];}

.viewer table, table.twtable {border:2px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]];}
.viewer th, .viewer thead td, .twtable th, .twtable thead td {background:[[ColorPalette::SecondaryMid]]; border:1px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]]; color:[[ColorPalette::Background]];}
.viewer td, .viewer tr, .twtable td, .twtable tr {border:1px solid [[ColorPalette::TertiaryDark]];}

.viewer pre {border:1px solid [[ColorPalette::SecondaryLight]]; background:[[ColorPalette::SecondaryPale]];}
.viewer code {color:[[ColorPalette::SecondaryDark]];}
.viewer hr {border:0; border-top:dashed 1px [[ColorPalette::TertiaryDark]]; color:[[ColorPalette::TertiaryDark]];}

.highlight, .marked {background:[[ColorPalette::SecondaryLight]];}

.editor input {border:1px solid [[ColorPalette::PrimaryMid]];}
.editor textarea {border:1px solid [[ColorPalette::PrimaryMid]]; width:100%;}
.editorFooter {color:[[ColorPalette::TertiaryMid]];}

#backstageArea {background:[[ColorPalette::Foreground]]; color:[[ColorPalette::TertiaryMid]];}
#backstageArea a {background:[[ColorPalette::Foreground]]; color:[[ColorPalette::Background]]; border:none;}
#backstageArea a:hover {background:[[ColorPalette::SecondaryLight]]; color:[[ColorPalette::Foreground]]; }
#backstageArea a.backstageSelTab {background:[[ColorPalette::Background]]; color:[[ColorPalette::Foreground]];}
#backstageButton a {background:none; color:[[ColorPalette::Background]]; border:none;}
#backstageButton a:hover {background:[[ColorPalette::Foreground]]; color:[[ColorPalette::Background]]; border:none;}
#backstagePanel {background:[[ColorPalette::Background]]; border-color: [[ColorPalette::Background]] [[ColorPalette::TertiaryDark]] [[ColorPalette::TertiaryDark]] [[ColorPalette::TertiaryDark]];}
.backstagePanelFooter .button {border:none; color:[[ColorPalette::Background]];}
.backstagePanelFooter .button:hover {color:[[ColorPalette::Foreground]];}
#backstageCloak {background:[[ColorPalette::Foreground]]; opacity:0.6; filter:'alpha(opacity:60)';}
/*}}}*/
/*{{{*/
* html .tiddler {height:1%;}

body {font-size:.75em; font-family:arial,helvetica; margin:0; padding:0;}

h1,h2,h3,h4,h5,h6 {font-weight:bold; text-decoration:none;}
h1,h2,h3 {padding-bottom:1px; margin-top:1.2em;margin-bottom:0.3em;}
h4,h5,h6 {margin-top:1em;}
h1 {font-size:1.35em;}
h2 {font-size:1.25em;}
h3 {font-size:1.1em;}
h4 {font-size:1em;}
h5 {font-size:.9em;}

hr {height:1px;}

a {text-decoration:none;}

dt {font-weight:bold;}

ol {list-style-type:decimal;}
ol ol {list-style-type:lower-alpha;}
ol ol ol {list-style-type:lower-roman;}
ol ol ol ol {list-style-type:decimal;}
ol ol ol ol ol {list-style-type:lower-alpha;}
ol ol ol ol ol ol {list-style-type:lower-roman;}
ol ol ol ol ol ol ol {list-style-type:decimal;}

.txtOptionInput {width:11em;}

#contentWrapper .chkOptionInput {border:0;}

.externalLink {text-decoration:underline;}

.indent {margin-left:3em;}
.outdent {margin-left:3em; text-indent:-3em;}
code.escaped {white-space:nowrap;}

.tiddlyLinkExisting {font-weight:bold;}
.tiddlyLinkNonExisting {font-style:italic;}

/* the 'a' is required for IE, otherwise it renders the whole tiddler in bold */
a.tiddlyLinkNonExisting.shadow {font-weight:bold;}

#mainMenu .tiddlyLinkExisting,
	#mainMenu .tiddlyLinkNonExisting,
	#sidebarTabs .tiddlyLinkNonExisting {font-weight:normal; font-style:normal;}
#sidebarTabs .tiddlyLinkExisting {font-weight:bold; font-style:normal;}

.header {position:relative;}
.header a:hover {background:transparent;}
.headerShadow {position:relative; padding:4.5em 0em 1em 1em; left:-1px; top:-1px;}
.headerForeground {position:absolute; padding:4.5em 0em 1em 1em; left:0px; top:0px;}

.siteTitle {font-size:3em;}
.siteSubtitle {font-size:1.2em;}

#mainMenu {position:absolute; left:0; width:10em; text-align:right; line-height:1.6em; padding:1.5em 0.5em 0.5em 0.5em; font-size:1.1em;}

#sidebar {position:absolute; right:3px; width:16em; font-size:.9em;}
#sidebarOptions {padding-top:0.3em;}
#sidebarOptions a {margin:0em 0.2em; padding:0.2em 0.3em; display:block;}
#sidebarOptions input {margin:0.4em 0.5em;}
#sidebarOptions .sliderPanel {margin-left:1em; padding:0.5em; font-size:.85em;}
#sidebarOptions .sliderPanel a {font-weight:bold; display:inline; padding:0;}
#sidebarOptions .sliderPanel input {margin:0 0 .3em 0;}
#sidebarTabs .tabContents {width:15em; overflow:hidden;}

.wizard {padding:0.1em 1em 0em 2em;}
.wizard h1 {font-size:2em; font-weight:bold; background:none; padding:0em 0em 0em 0em; margin:0.4em 0em 0.2em 0em;}
.wizard h2 {font-size:1.2em; font-weight:bold; background:none; padding:0em 0em 0em 0em; margin:0.4em 0em 0.2em 0em;}
.wizardStep {padding:1em 1em 1em 1em;}
.wizard .button {margin:0.5em 0em 0em 0em; font-size:1.2em;}
.wizardFooter {padding:0.8em 0.4em 0.8em 0em;}
.wizardFooter .status {padding:0em 0.4em 0em 0.4em; margin-left:1em;}
.wizard .button {padding:0.1em 0.2em 0.1em 0.2em;}

#messageArea {position:fixed; top:2em; right:0em; margin:0.5em; padding:0.5em; z-index:2000; _position:absolute;}
.messageToolbar {display:block; text-align:right; padding:0.2em 0.2em 0.2em 0.2em;}
#messageArea a {text-decoration:underline;}

.tiddlerPopupButton {padding:0.2em 0.2em 0.2em 0.2em;}
.popupTiddler {position: absolute; z-index:300; padding:1em 1em 1em 1em; margin:0;}

.popup {position:absolute; z-index:300; font-size:.9em; padding:0; list-style:none; margin:0;}
.popup .popupMessage {padding:0.4em;}
.popup hr {display:block; height:1px; width:auto; padding:0; margin:0.2em 0em;}
.popup li.disabled {padding:0.4em;}
.popup li a {display:block; padding:0.4em; font-weight:normal; cursor:pointer;}
.listBreak {font-size:1px; line-height:1px;}
.listBreak div {margin:2px 0;}

.tabset {padding:1em 0em 0em 0.5em;}
.tab {margin:0em 0em 0em 0.25em; padding:2px;}
.tabContents {padding:0.5em;}
.tabContents ul, .tabContents ol {margin:0; padding:0;}
.txtMainTab .tabContents li {list-style:none;}
.tabContents li.listLink { margin-left:.75em;}

#contentWrapper {display:block;}
#splashScreen {display:none;}

#displayArea {margin:1em 17em 0em 14em;}

.toolbar {text-align:right; font-size:.9em;}

.tiddler {padding:1em 1em 0em 1em;}

.missing .viewer,.missing .title {font-style:italic;}

.title {font-size:1.6em; font-weight:bold;}

.missing .subtitle {display:none;}
.subtitle {font-size:1.1em;}

.tiddler .button {padding:0.2em 0.4em;}

.tagging {margin:0.5em 0.5em 0.5em 0; float:left; display:none;}
.isTag .tagging {display:block;}
.tagged {margin:0.5em; float:right;}
.tagging, .tagged {font-size:0.9em; padding:0.25em;}
.tagging ul, .tagged ul {list-style:none; margin:0.25em; padding:0;}
.tagClear {clear:both;}

.footer {font-size:.9em;}
.footer li {display:inline;}

.annotation {padding:0.5em; margin:0.5em;}

* html .viewer pre {width:99%; padding:0 0 1em 0;}
.viewer {line-height:1.4em; padding-top:0.5em;}
.viewer .button {margin:0em 0.25em; padding:0em 0.25em;}
.viewer blockquote {line-height:1.5em; padding-left:0.8em;margin-left:2.5em;}
.viewer ul, .viewer ol {margin-left:0.5em; padding-left:1.5em;}

.viewer table, table.twtable {border-collapse:collapse; margin:0.8em 1.0em;}
.viewer th, .viewer td, .viewer tr,.viewer caption,.twtable th, .twtable td, .twtable tr,.twtable caption {padding:3px;}
table.listView {font-size:0.85em; margin:0.8em 1.0em;}
table.listView th, table.listView td, table.listView tr {padding:0px 3px 0px 3px;}

.viewer pre {padding:0.5em; margin-left:0.5em; font-size:1.2em; line-height:1.4em; overflow:auto;}
.viewer code {font-size:1.2em; line-height:1.4em;}

.editor {font-size:1.1em;}
.editor input, .editor textarea {display:block; width:100%; font:inherit;}
.editorFooter {padding:0.25em 0em; font-size:.9em;}
.editorFooter .button {padding-top:0px; padding-bottom:0px;}

.fieldsetFix {border:0; padding:0; margin:1px 0px 1px 0px;}

.sparkline {line-height:1em;}
.sparktick {outline:0;}

.zoomer {font-size:1.1em; position:absolute; overflow:hidden;}
.zoomer div {padding:1em;}

* html #backstage {width:99%;}
* html #backstageArea {width:99%;}
#backstageArea {display:none; position:relative; overflow: hidden; z-index:150; padding:0.3em 0.5em 0.3em 0.5em;}
#backstageToolbar {position:relative;}
#backstageArea a {font-weight:bold; margin-left:0.5em; padding:0.3em 0.5em 0.3em 0.5em;}
#backstageButton {display:none; position:absolute; z-index:175; top:0em; right:0em;}
#backstageButton a {padding:0.1em 0.4em 0.1em 0.4em; margin:0.1em 0.1em 0.1em 0.1em;}
#backstage {position:relative; width:100%; z-index:50;}
#backstagePanel {display:none; z-index:100; position:absolute; margin:0em 3em 0em 3em; padding:1em 1em 1em 1em;}
.backstagePanelFooter {padding-top:0.2em; float:right;}
.backstagePanelFooter a {padding:0.2em 0.4em 0.2em 0.4em;}
#backstageCloak {display:none; z-index:20; position:absolute; width:100%; height:100px;}

.whenBackstage {display:none;}
.backstageVisible .whenBackstage {display:block;}
/*}}}*/
/***
StyleSheet for use when a translation requires any css style changes.
This StyleSheet can be used directly by languages such as Chinese, Japanese and Korean which use a logographic writing system and need larger font sizes.
***/

/*{{{*/
body {font-size:0.8em;}

#sidebarOptions {font-size:1.05em;}
#sidebarOptions a {font-style:normal;}
#sidebarOptions .sliderPanel {font-size:0.95em;}

.subtitle {font-size:0.8em;}

.viewer table.listView {font-size:0.95em;}

.htmlarea .toolbarHA table {border:1px solid ButtonFace; margin:0em 0em;}
/*}}}*/
/*{{{*/
@media print {
#mainMenu, #sidebar, #messageArea, .toolbar, #backstageButton {display: none ! important;}
#displayArea {margin: 1em 1em 0em 1em;}
/* Fixes a feature in Firefox 1.5.0.2 where print preview displays the noscript content */
noscript {display:none;}
}
/*}}}*/
<!--{{{-->
<div class='header' macro='gradient vert [[ColorPalette::PrimaryLight]] [[ColorPalette::PrimaryMid]]'>
<div class='headerShadow'>
<span class='siteTitle' refresh='content' tiddler='SiteTitle'></span>&nbsp;
<span class='siteSubtitle' refresh='content' tiddler='SiteSubtitle'></span>
</div>
<div class='headerForeground'>
<span class='siteTitle' refresh='content' tiddler='SiteTitle'></span>&nbsp;
<span class='siteSubtitle' refresh='content' tiddler='SiteSubtitle'></span>
</div>
</div>
<div id='mainMenu' refresh='content' tiddler='MainMenu'></div>
<div id='sidebar'>
<div id='sidebarOptions' refresh='content' tiddler='SideBarOptions'></div>
<div id='sidebarTabs' refresh='content' force='true' tiddler='SideBarTabs'></div>
</div>
<div id='displayArea'>
<div id='messageArea'></div>
<div id='tiddlerDisplay'></div>
</div>
<!--}}}-->
<!--{{{-->
<div class='toolbar' macro='toolbar closeTiddler closeOthers +editTiddler > fields syncing permalink references jump'></div>
<div class='title' macro='view title'></div>
<div class='subtitle'><span macro='view modifier link'></span>, <span macro='view modified date'></span> (<span macro='message views.wikified.createdPrompt'></span> <span macro='view created date'></span>)</div>
<div class='tagging' macro='tagging'></div>
<div class='tagged' macro='tags'></div>
<div class='viewer' macro='view text wikified'></div>
<div class='tagClear'></div>
<!--}}}-->
<!--{{{-->
<div class='toolbar' macro='toolbar +saveTiddler -cancelTiddler deleteTiddler'></div>
<div class='title' macro='view title'></div>
<div class='editor' macro='edit title'></div>
<div macro='annotations'></div>
<div class='editor' macro='edit text'></div>
<div class='editor' macro='edit tags'></div><div class='editorFooter'><span macro='message views.editor.tagPrompt'></span><span macro='tagChooser'></span></div>
<!--}}}-->
To get started with this blank TiddlyWiki, you'll need to modify the following tiddlers:
* SiteTitle & SiteSubtitle: The title and subtitle of the site, as shown above (after saving, they will also appear in the browser title bar)
* MainMenu: The menu (usually on the left)
* DefaultTiddlers: Contains the names of the tiddlers that you want to appear when the TiddlyWiki is opened
You'll also need to enter your username for signing your edits: <<option txtUserName>>
These InterfaceOptions for customising TiddlyWiki are saved in your browser

Your username for signing your edits. Write it as a WikiWord (eg JoeBloggs)

<<option txtUserName>>
<<option chkSaveBackups>> SaveBackups
<<option chkAutoSave>> AutoSave
<<option chkRegExpSearch>> RegExpSearch
<<option chkCaseSensitiveSearch>> CaseSensitiveSearch
<<option chkAnimate>> EnableAnimations

----
Also see AdvancedOptions
เผย 8 มหาวิทยาลัยไทยติด 200 อันดับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ส่วนอันดับ 1-2 เป็นของฮ่องกง ญี่ปุ่นอยู่ที่ 3 "ม.มหิดล" ติดอันดับ 30-จุฬาฯอยู่ที่ 35-มช. 81-มธ. 85-มก.108-มอ.109-มข. 113 และ มบ.151 ด้านอธิการบดี มม. ตั้งเป้าอีก 2 ปี ต้องติด 1 ใน 100 มหา"ลัยที่ดีที่สุดในโลก วอนรัฐบาล-ส.ส.อย่าตัดงบฯวิจัยของอาจารย์

เมื่อ วันที่ 13 พฤษภาคม ม.ร.ว.ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ที่ปรึกษาคณะกรรมการปรับปรุงเว็บไซต์ มหาวิทยาลัยมหิดล (มม.) เปิดเผยว่า จากการจัดอันดับ 200 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียของ QS Asian Universities Ranking 2009 ล่าสุด ปรากฏว่า มม.ได้รับการจัดให้อยู่ในลำดับที่ 30 ของภูมิภาคเอเชีย และเป็นมหาวิทยาลัยที่ติดในอันดับสูงสุดของมหาวิทยาลัยไทย ซึ่งการจัดอันดับครั้งนี้โดย บริษัท Quacquarelli Symonds Ltd. (QS) เป็นผู้พิจารณาจัดอันดับ โดยมีเกณฑ์ค่าน้ำหนักในการพิจารณาให้คะแนนจาก 5 หลักเกณฑ์ ได้แก่ Asian Academic Peer Review 30%, Asian Employer Review 10%, Student/Faculty ratio 20%, Bibliometrics - Papers per Faculty and Citations per Paper 30% (Papers per Faculty/ Citations per Paper) International factors 10% (International Faculty/ International Students/ Inbound Exchange Students/ Outbound Exchange Students)

นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร อธิการบดี มม.กล่าวว่า บริษัท QS เป็นที่ยอมรับว่าได้มาตรฐานระดับโลก ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียเป็นครั้งแรก การจัดอันดับไม่ได้มุ่งเน้นความมีชื่อเสียงอย่างเดียว แต่มุ่งเน้นผลการวิจัยที่ถูกนำไปอ้างอิงในวารสารระดับโลกด้วย ย่อมแสดงว่าเป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพจึงได้รับการยอมรับ เรื่องนี้คิดว่ามีส่วนทำให้ มม.ได้รับจัดอันดับอยู่ที่ 30 ของภูมิภาคเอเชีย และเป็นอันดับที่ 1 ของมหาวิทยาลัยไทย อย่างไรก็ตาม คิดว่าเกณฑ์อื่นๆ มม.ก็ทำได้ดีเช่นกัน ทั้งเกณฑ์งานวิชา การ การจัดการเรียนการสอนระดับนานาชาติ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ตลอดจน สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา โดย มม.มี อาจารย์ประมาณ 4,000 คนต่อนักศึกษา 25,000 คน

"ตอนที่ทราบข่าวดีใจมาก เพราะ มม.อยู่ในลำดับที่สูงกว่าประเทศต่างๆ ในแถบนี้ ยกเว้นสิงคโปร์ ที่เราแพ้อยู่ประเทศเดียว ส่วนประเทศอื่นๆ อยู่ในลำดับหลังเรา แม้แต่มาเลเซียซึ่งประกาศว่าจะเป็นศูนย์กลางทางวิชาการในภูมิภาคเอเชีย แต่มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของมาเลเซียก็ยังอยู่ในลำดับที่ 39 แต่ผมก็บอกคณบดีทั้ง 34 คณะว่า ดีใจได้แค่ 3 วินาทีเท่านั้น เพราะเรายังมีสิ่งที่ต้องพัฒนาอีกมาก เราคงต้องเน้นสนับสนุนให้อาจารย์ทำวิจัยต่อไป เพราะอาจารย์เรามีศักยภาพ ขาดเพียงงบประมาณสนับสนุน ซึ่งการวิจัยต้องใช้งบฯ สูงถึง 2-3 พันล้านบาท จึงฝากถึงรัฐบาล และ ส.ส.ด้วยว่าให้ช่วยสนับสนุนงบฯด้านวิจัยด้วย เมื่อตั้งงบฯ เข้าไปในสภา กรุณาอย่าไปตัดงบฯ เพราะการส่งเสริมให้อาจารย์ทำวิจัย จะทำให้ประเทศไทยทัดเทียมกับนานาประเทศได้" นพ.ปิยะสกลกล่าว

นพ.ปิยะ สกลกล่าวว่า มม.ตั้งเป้าตั้งแต่ปีที่แล้วว่าในอีก 2 ปี จะเป็นมหาวิทยาลัยที่ติดอันดับ 1 ใน 100 ลำดับแรกของมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของโลก การพัฒนา มม.ตอนนี้จึงมุ่งความเป็นเลิศใน 4 ด้าน ได้แก่ ความเป็นเลิศทางด้านวิจัย ความเป็นเลิศทางด้านการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้นักศึกษาที่จบออกไปมีบุคลิกผู้นำ ความเป็นเลิศทางการให้บริการสุขภาพ ซึ่ง มม.มีโรงพยาบาลศิริราช และโรงพยาบาลรามาธิบดีรองรับ และความเป็นเลิศเรื่องการให้บริการวิชาการระดับนานาชาติ ขณะนี้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตั้งเป้าให้มหาวิทยาลัยไทยเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย มม.จึงกำลังทำโครงการเพื่อเสนอของบฯ สนับสนุนเรื่องนี้อยู่ สำหรับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่ไม่ติดอันดับนั้น ส่วนตัวเชื่อว่าถ้าตั้งเป้าชัดเจน และร่วมมือกันในเครือข่ายที่มีอยู่แล้ว ก็จะไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ได้ ซึ่งตนเชื่อว่ามหาวิทยาลัยทุกแห่งมีศักยภาพทั้งสิ้น

ผู้สื่อข่าว รายงานว่า จากการตรวจสอบการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุด 200 อันดับแรกของภูมิภาคเอเชียของ QS Asian Universities Ranking 2009 มีมหาวิทยาลัยรัฐของไทย 8 แห่ง ที่ติดอยู่ใน 200 อันดับ ได้แก่ มม.อันดับที่ 30 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับที่ 35 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) อันดับที่ 81 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) อันดับที่ 85 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) อันดับที่ 108 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) อันดับที่ 109 มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) อันดับที่ 113 และ@@มหาวิทยาลัยบูรพา (มบ.) อันดับที่ 151@@

ผู้สื่อข่าว รายงานว่า สำหรับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียใน 10 อันดับแรก มีดังนี้ 1.University of HONG KONG ฮ่องกง 2.The CHINESE University of Hong Kong ฮ่องกง 3.University of TOKYO ประเทศญี่ปุ่น 4.HONG KONG University of Science and Technology ฮ่องกง 5.KYOTO University ญี่ปุ่น 6.OSAKA University ญี่ปุ่น 7.KAIST - Korea Advanced Institute of Science & Technology ประเทศเกาหลีใต้ 8. SEOUL National University เกาหลีใต้ 9.TOKYO Institute of Technology ญี่ปุ่น และ 10.National University of Singapore (NUS) ประเทศสิงคโปร์ และ PEKING University สาธารณรัฐประชาชนจีน

ผู้ สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชีย แบ่งเป็นกลุ่มสาขาวิชาต่างๆ มหาวิทยาลัยไทยที่ติดใน 100 อันดับแรก มีดังนี้ กลุ่มสาขาวิชาอักษรศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities) ได้แก่ จุฬาฯ อันดับที่ 10 มธ.อันดับที่ 28 มม.อันดับที่ 45 มช.อันดับที่ 54 มอ.อันดับที่ 91 มข.อันดับที่ 93 และ มก.อันดับที่ 100, กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและชีวการแพทย์ (Life Sciences & Biomedicine) ได้แก่ จุฬาฯ อันดับที่ 12 มม.อันดับที่ 20 มก.อันดับที่ 60 มช.อันดับที่ 72 มอ.อันดับที่ 77 มข.อันดับที่ 78 และ มธ.อันดับที่ 86

กลุ่ม สาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) ได้แก่ จุฬาฯ อันดับที่ 30 มม.อันดับที่ 54 มช.อันดับที่ 61 มก.อันดับที่ 65 มข.อันดับที่ 83 และ มอ.อันดับที่ 93, กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ (Social Sciences) ได้แก่ จุฬาฯ อันดับที่ 10 มธ.อันดับที่ 33 มม.อันดับที่ 56 มช.อันดับที่ 62 มอ.อันดับที่ 73 มก.อันดับที่ 82 และ มข.อันดับที่ 94 และกลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิศวกรรมศาสตร์ (IT & Engineering) ได้แก่ จุฬาฯ อันดับที่ 24 มช.อันดับที่ 68 มม.อันดับที่ 72 มธ.อันดับที่ 75 มก.อันดับที่ 78 และ มอ.อันดับที่ 90

[[Source|http://www.matichon.co.th/matichon//view_news.php?newsid=01p0114140552&sectionid=0101&day=2009-05-14]]
[img[http://www.thairath.co.th/media/content/2009/05/07/300/4302.jpg]]
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รมว.ศึกษาธิการ มอบนโยบายการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์แก่ผู้บริหาร 3 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ว่า กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ แต่ต้องสร้างสรรค์ ส่งเสริมความสามัคคี มีวินัยและภูมิใจในสถาบัน ไม่ใช่กิจกรรมที่ส่งเสริมความรุนแรง ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ทั้งทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งไม่ดื่มสุราหรือเสพสิ่งมึนเมาทุกชนิด โดยจะต้องขออนุมัติจากสถาบัน และอยู่ในความรับผิดชอบร่วมกันของผู้บริหาร คณาจารย์ และรุ่นพี่ โดยขอให้จัดกิจกรรมภายในสถาบัน หากมีความจำเป็นต้องจัดภายนอกสถาบัน ต้องมีอาจารย์ควบคุมดูแล ภายใต้ความรับผิดชอบของสถาบัน

รมว.ศึกษาธิการกล่าวอีกว่า ทั้งนี้ ขอให้สถาบันการศึกษาออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมาตรการในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวนโยบายดังกล่าว สำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมของนิสิต นักศึกษาใหม่นั้น ให้เป็นไปด้วยความสมัครใจไม่เป็นการบังคับและให้สถาบันอุดมศึกษากำหนดบทลง โทษทางวินัยกับนิสิต นักศึกษา รวมถึงผู้ที่รับผิดชอบและผู้ที่ เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่และกิจกรรมเชียร์ด้วย หากสถาบันการศึกษาใดปล่อยปละละเลยให้เกิดเหตุรับน้องรุนแรงจนถึงขั้นบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตขึ้นในสถาบันใด ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรุ่นพี่ที่จัดกิจกรรม จะต้องถูกดำเนินการทางวินัย และโทษอาญาอีกทางหนึ่งด้วย จะมาปฏิเสธความรับผิดชอบว่าไม่รู้ไม่เห็นไม่ได้.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/4302]]
[img[http://pics.manager.co.th/Images/552000005662701.JPEG]]
ภาพดวงอาทิตย์ที่เกิดจุดดับใหม่ (จุดขาวขวาบน) เมื่อปี 2551 หลังจากไม่มีจุดดับเลย (นาซา/กล้องSOHO/เอพี)

เปรียบดวง อาทิตย์เหมือนคนเป็นหวัด จามครั้งเดียวโลกก็ติดไข้ ซึ่งตอนนี้ศูนย์กลางของระบบสุริยะกำลังเข้าสู่ช่วงเวลาที่ยุ่งเหยิงและปะทุ หนักขึ้น นักพยากรณ์คาดโดยเทียบกับข้อมูลในอดีตว่า "พายุสุริยะ" ครั้งใหญ่ครั้งเดียว สามารถสร้างหายนะให้กับดาวเทียมและระบบอิเล็กทรอนิกส์บนโลกได้

ความเห็นของ ดัก บีเซคเกอร์ (Doug Biesecker) นักวิทยาศาสตร์จากศูนย์พยากรณ์สภาพอากาศในอวกาศ ขององค์การมหาสมุทรและบรรยากาศแห่งสหรัฐฯ (National Oceanic and Atmospheric Administration) หรือโนอา (NOAA) ซึ่งสำนักข่าวเอพีนำมารายงานระบุว่า ปรากฏการณ์ดังกล่าว ก็เหมือนกับเฮอร์ริเคนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนการก่อตัวของพายุ ซึ่งพายุอันทรงพลังที่สุดจะก่อตัวเป็นเฮอร์ริเคนที่สร้างความโกลากลได้

จากรายงานของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Academy of Sciences) พบว่า หากพายุสุริยะรุนแรงเหมือนเมื่อ พ.ศ. 2402 จะก่อให้เกิดความเสียหาย 3.5-7 ล้านล้านบาทในปีแรก และต้องใช้เวลา 4-10 ปีเพื่อฟื้นฟูความเสียหายที่เกิดขึ้น

เหตุการณ์พายุสุริยะเมื่อ 150 ปีก่อน ได้สร้างความเสียหายกับสายโทรศัพท์ ซึ่งกลายเป็นต้นเหตุของไฟไหม้ในอเมริกาเหนือและยุโรป ทำให้สนามแม่เหล็กโลกเข้มขึ้น และทำให้เกิด "แสงเหนือ" ซึ่งสว่างมาก จนผู้คนสามารถอ่านหนังสือภายใต้แสงสว่างดังกล่าวได้

ทุกวันนี้มีมีสายไฟจำนวนมาก วงจรสายส่งไฟฟ้าที่เสี่ยงต่อความเสียหายมีอยู่ทั่วโลก ดาวเทียมซึ่งให้ข้อมูลระบุพิกัดบนพื้นโลกเสี่ยงที่จะถูกรบกวน อย่างไรก็ดีบีเซคเกอร์กล่าวว่า พวกเขาได้เตือนทางการถึงความรุนแรงของลมสุริยะนั้นสามารถคุกคามความมั่นคง ระดับชาติ การคมนาคม การให้บริการทางการเงินและการปฏิบัติหน้าที่อันสำคัญอื่นๆ

บีเซคเกอร์กล่าวต่อว่า ศูนย์พยากรณ์ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์ของสหรัฐฯ ได้ทำงานใกล้ชิดกับหน่วยงานภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐเพื่อสร้างความมั่นใจว่า พวกเขาได้เตรียมพร้อม กับการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมบนดวงอาทิตย์ที่จะเกิดขึ้นเพื่อรับมือเมื่อได้ รับความเสียหาย

หาก แต่ความเสียหายครั้งใหญ่ยังไม่เกิดขึ้นเร็วๆ นี้ ซึ่งในช่วงนี้จะเกิดความเสียหายในระดับเล็กๆ ก่อน นั่นคือ อาจเกิดสัญญาณรบกวนระบบไฟฟ้า สายการบิน สัญญาณระบุพิกัดบนโลก หรือ "จีพีเอส" ตลอดจนสัญญาณโทรทัศน์ วิทยุและโทรศัพท์เคลื่อนที่ อย่างไรก็ดียังมีแง่บวก เนื่องจากพายุสุริยะทำให้เกิด "ออโรรา" หรือ แสงเหนือและแสงใต้ที่มีสีสันสวยงาม เหนือท้องฟ้าบริเวณขั้วโลก

ทีมพยากรณ์คาดว่าวัฏจักรสุริยะ (solar cycle) ที่กำลังจะเกิดขึ้นใกล้ๆ นี้จะเป็นวัฏจักรที่มีความรุนแรงน้อยสุดนับแต่ปี พ.ศ. 2471 ส่วนวัฎจักรที่รุนแรงสุดจะเกิดขึ้นในเดือน พ.ค. ปี 2556 ซึ่งจะเกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์เฉลี่ยทั้งเดือนตกวันละ 90 จุด โดยวัฏจักรรุนแรงที่สุดก่อนหน้านี้เกิดขึ้นในปี 2471 ซึ่งเกิดจุดดับเฉลี่ยวันละ 78 จุด โดยการนับจุดดับบนดวงอาทิตย์เริ่มขึ้นประมาณช่วงปี 2400

ทีมพยากรณ์อธิบายว่าพายุสุริยะคือ การปะทุของพลังงานและสสารซึ่งหลุดรอดออกมาจากดวงอาทิตย์ และบางส่วนของพลังงานและสสารเหล่านี้ได้พุ่งตรงมายังโลก ทั้งนี้ การประทุน้อยที่สุดของดวงอาทิตย์ที่เพิ่งเกิดขึ้นล่าสุดคือเมื่อเดือน ธ.ค.ของปีที่ผ่านมา.

[[Source|http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000052971]]
สัตว์น้ำพื้นเมืองเสี่ยงสูญพันธุ์

กรมประมงเน้นย้ำประชาชนตระหนักถึงอันตรายของสัตว์น้ำต่างถิ่นที่เข้ามา รุกรานสัตว์น้ำพื้นเมืองจนเสี่ยงสูญพันธุ์ แห่จัดกิจกรรม รณรงค์อย่าปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ จะสำเร็จหรือไม่ จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย
   
ดร.สมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า ปัจจุบันนี้หลายคนคงจะคุ้นหู กับคำว่า “ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น” หรือ “เอเลี่ยนสปีชีส์” (Alien species) ซึ่งหมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่ได้มีถิ่นกำเนิดในบ้านเรา แต่มีการนำเข้ามาจากถิ่นอื่น บางชนิดสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมของประเทศไทยทำให้เจริญเติบโตและ แพร่พันธุ์ได้ดี จนส่งผลกระทบต่อสัตว์น้ำพื้นเมือง ถือเป็นการคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพและก่อให้เกิดความสูญเสียทางสิ่ง แวดล้อม เศรษฐกิจ และสุขอนามัย ซึ่งเกิดขึ้นทั่วโลก เราจึงเรียกชนิดพันธุ์ต่างถิ่นนี้ว่า “ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน”
   
ทั้งนี้ ปัญหาดังกล่าวจัดเป็นเรื่อง สำคัญที่ต้องเร่งแก้ไขเป็นอันดับสองรองจากการทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยตาม ธรรมชาติ ตามอนุสัญญาแห่งสหประชาชาติว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพที่มีการกำหนดกรอบ การดำเนินงานที่จะผลักดันให้มีการจัดการกับเอเลี่ยนสปีชีส์
   
สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลทางวิชาการ ปัจจุบันมีชนิดพันธุ์ของเอเลี่ยนสปีชีส์อยู่มากกว่า 3,500 ชนิด ซึ่งถือเป็นข้อมูลที่น่าตกใจอย่างยิ่ง ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากในอดีตมีการนำเข้าค่อนข้างมาก ทั้งนำมาเพื่อเพาะเลี้ยงเป็นอาหาร เป็นปลาสวยงาม หรือเพื่อควบคุมสภาพแวดล้อม ซึ่งวัตถุประสงค์ในการนำเข้ามาล้วนแล้วแต่ก่อให้ เกิดประโยชน์ทั้งสิ้น แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขที่ “ต้องสามารถควบคุมหรือจำกัดให้อยู่ในพื้นที่เฉพาะได้” เพราะหากหลุดรอดลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติจะเป็นอันตรายต่อทรัพยากรและความหลาก หลายทางชีวภาพของประเทศ เราอย่างมาก เพราะพวกเอเลี่ยนสปีชีส์บางชนิดจะไปแย่งที่อยู่อาศัย แย่งอาหาร บางชนิดทำลายแหล่งวางไข่ เช่น ปลาซัคเกอร์  ปลาซิวไต้หวัน ที่ร้ายแรง คือ ไปทำร้าย กัดกินสัตว์น้ำพื้นเมือง เช่น ปลาช่อนอะเมซอน  ปลาอัลลิเกเตอร์ การ์ ปลาดุกแอฟริกัน ปลากะพงแม่น้ำไนล์ ซึ่งถือเป็นการทำลายระบบนิเวศอย่างรุนแรง นอกจากนี้ สัตว์น้ำชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ยังก่อให้เกิดการเสื่อมทางพันธุกรรม เพราะบางชนิดสามารถผสมข้ามกับพันธุ์พื้นเมืองได้ เป็นการทำลายชนิดพันธุ์แท้ไป เช่น ปลาดุกแอฟริกันผสมกับปลาดุกอุย ทำให้ปลาดุกอุยในธรรมชาติลดจำนวนลง  อีกทั้งยังเป็นพาหะแพร่เชื้อโรคและปรสิต ต่าง ๆ เข้ามาแพร่สู่สัตว์น้ำพื้นเมืองและคนด้วย เช่น ปลาจีนนำปรสิตหนอนสมอและราปุยฝ้าย  หอยเชอรี่ที่นำพยาธิมาสู่คน ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ล้วนแต่เป็นเหตุให้สัตว์น้ำพันธุ์พื้นเมืองลดจำนวน ลงหรือสูญพันธุ์ไป ในที่สุด
   
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสำคัญและเร่งแก้ปัญหามาโดยตลอด ทั้งการออกระเบียบและข้อกำหนดในการจัดการสัตว์ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ในส่วนของกรมประมง ได้ออก 3 มาตรการ เพื่อแก้ปัญหา คือ 1) มาตรการควบคุมการนำเข้า : ออกพระราชกฤษฎีกาห้ามมิให้นำสัตว์น้ำบางชนิดเข้ามาในราชอาณาจักร และจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุญาต นำเข้าสัตว์น้ำต่างถิ่น และกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาอันเกิดจากสัตว์น้ำต่างถิ่นที่นำเข้ามาแล้ว อีกทั้งยังมีการกำกับดูแล การนำเข้า-ส่งออกสัตว์น้ำอย่างเคร่งครัด  2) การศึกษาวิจัย : มีนโยบายเร่งศึกษาวิจัยชีววิทยาเพื่อหาแนวทางควบคุมปริมาณ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 3) มาตรการป้องกัน ลด  ผลกระทบและแก้ไขปัญหา : ให้ความรู้แก่ประชาชนได้ทราบถึงอันตรายของสัตว์น้ำ ต่างถิ่นที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรสัตว์น้ำของไทย รวมทั้งรณรงค์ไม่ให้ประชาชนปล่อยสัตว์น้ำที่เป็น  เอเลี่ยนสปีชีส์ลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ โดยเฉพาะผู้ที่ปล่อยปลา ซัคเกอร์ ตามความเชื่อว่าเป็นปลาราหู จะช่วยสะเดาะเคราะห์ได้นั้นขอความร่วมมือให้ปล่อยปลาพื้นเมือง เช่น ปลาไหล ปลาช่อน แทน นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้ทุกจังหวัดจัดกิจกรรมเชิญชวนประชาชนที่มีสัตว์น้ำต่างถิ่นที่ เลี้ยงไว้ หรือ  ที่จับได้และไม่ต้องการเลี้ยงต่อ นำมาแลก พันธุ์ปลาพื้นเมืองของไทยที่กรมประมง เช่น  “วันกำจัดปลาซัคเกอร์” เป็นต้น
   
อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ซึ่งถือเป็นเรื่องยากที่จะกำจัดสัตว์น้ำต่างถิ่นให้หมดไป ดังนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชน จึงขอให้ทุกคนตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและร่วมกันดูแลไม่ให้มี การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำต่างถิ่นลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติอีกต่อไป….ได้ไหม.

[[Source|http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=347&contentID=53063]]
หลังจากอันดับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลก TOP500 ประกาศออกมา (ดูข่าว ซูเปอร์ คอมสายเลือดจีนแซง Roadrunner ได้แล้ว) ทางเว็บไซต์ BBC ได้นำข้อมูลของ TOP500 รอบล่าสุดมาทำเป็นกราฟิกให้เข้าใจกันง่ายๆ

แนวโน้มที่ดำเนินมายาวนานแล้ว และยังเป็นความจริงอยู่ก็คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ส่วนมากใช้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการ และสัดส่วนตอนนี้คือ 91% ของคอมพิวเตอร์ทั้ง 500 ระบบ
[img[http://lh6.ggpht.com/_lUXeJR9f4Yk/TAXLBTxjZkI/AAAAAAAAEak/qhXlNMHdzQc/s400/top500-os.PNG]]
ส่วนยี่ห้อของหน่วยประมวลผลที่ใช้ อินเทลยังนำตามคาด แต่ในสมรภูมินี้ AMD ก็มีตัวตนไม่น้อย รวมถึงซีพียูตระกูล POWER ของ IBM
[img[http://lh6.ggpht.com/_lUXeJR9f4Yk/TAXLBYWrcyI/AAAAAAAAEag/AvLungmq-6k/s400/top500-cpu.PNG]]
เรื่องนี้อธิบายได้ไม่ยาก เพราะ IBM ยังเป็นผู้ผลิตซูเปอร์คอมพิวเตอร์อันดับหนึ่งของโลกนั่นเอง ตามมาด้วย HP และ Cray แต่ที่น่าสนใจคือ Dawning ของจีนแรงขึ้นมามากครับ
[img[http://lh3.ggpht.com/_lUXeJR9f4Yk/TAXLBhlbAaI/AAAAAAAAEao/7n_k2yhWvLY/s400/top500-vendor.PNG]]
สุดท้ายถ้าแบ่งตามประเทศ สหรัฐยังเป็นที่หนึ่งแบบทิ้งห่าง ตามมาด้วยจีนและเยอรมนี
[img[http://picasaweb.google.com/lh/photo/S4ppxwKEp-JQYuuFrEOVUg?feat=embedwebsite]]

[[Source|http://www.blognone.com/news/16561]]

834331 พันธุศาสตร์สัตว์น้ำ Aquatic Animal Genetics

ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะทางพันธุกรรมและการศึกษาโครโมโซมของสัตว์น้ำ หลักการและเทคนิคในการคัดเลือก และปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำให้ได้ลักษณะที่เจริญเติบโตเร็ว ทนโรค และมีลักษณะที่ผู้บริโภคต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์เพื่อผลิตสัตว์น้ำที่เป็นเพศผู้หรือเพศ เมียอย่างเดียว หรือเป็นหมัน

เอกสารประกอบการสอน
[[Introduction|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen001_introduction.pdf]]
[[Qualitative trails|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen002_qualitative_trail_slide.pdf]]
[[Quantitative trails|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen003_quantitative_trail_slide.pdf]]
[[Mating system|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen004_mating_system_slide.pdf]]
[[Inbreeding|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen005_inbreeding_slide.pdf]]
[[Population genetics|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen006_population_genetic_slide.pdf]]
[[Cytogenetic|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen007_cytogenetic_slide.pdf]]
[[Chromosome manipulation|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/genetic/gen008_chromosome_manipulation_slide.pdf]]
วิชาโภชนาการสัตว์น้ำกล่าวถึงอาหารสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ โดยเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการ ความต้องการธาตุอาหารประเภทต่าง ๆ ของสัตว์น้ำ วัตถุดิบอาหาร ขั้นตอนและวิธีการคิดค้นสูตรอาหาร วิธีการเตรียมและเทคนิคการให้อาหารสัตว์น้ำ

[[บทนำ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan001_introduction_slide.pdf]]
[[ระบบย่อยอาหารและการย่อย|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan002_digestion_slide.pdf]]
[[พลังงานและสารอาหารที่ให้พลังงาน|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan103_energy_and_nutrient.pdf]]
[[สารอาหารปริมาณน้อย|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan104_trace_nutrients.pdf]]
[[วัตถุดิบอาหาร|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan105_feed_stuff.pdf]]
[[การผลิตอาหารสัตว์น้ำ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan106_feed_production.pdf]]
[[การวัดคุณค่าการใช้อาหาร|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan107_performance_measures.pdf]]
[[การให้อาหารสัตว์น้ำ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/aan108_feed_ration.pdf]]

''ปฏิบัติการ''
[[ปฏิบัติการ บทนำ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/nut100_introduction_slide.pdf]]
[[ปฏิบัติการ ความชื้น|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/nut101_moisture_slide.pdf]]
[[ปฏิบัติการ เถ้า|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/nut102_ash_slide.pdf]]
[[ปฏิบัติการ ไขมัน|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/nut103_ether_extract_slide.pdf]]
[[ปฏิบัติการ เยื่อใย|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/nut104_crude_fiber_slide.pdf]]
[[ปฏิบัติการ โปรตีน|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/aqua_nutrition/nut105_crude_protein_slide.pdf]]
[[Classification|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/bio_plankton/bop001_classification.pdf]]
[[Division Cyanophyta|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/bio_plankton/bop002_cyanophyta.pdf]]
[[Division Chlorophyta|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/bio_plankton/bop003_Chlorophyta.pdf]]
Contact : [[pchalee @ buu.ac.th|mailto:pchalee@buu.ac.th]]
URL : [[Chalee.info|http://www.janburi.buu.ac.th/~chalee/]]
SELECT ch_gl.cgid AS 'Chemical ID', ch_gl.cgname AS 'Name', cgamount - sum( ch_withdraw.camount ) AS 'Chemical Stock'
FROM ch_gl, ch_withdraw, student
WHERE student.sid = ch_withdraw.sid
AND ch_withdraw.cgid = ch_gl.cgid
GROUP BY ch_gl.cgid
ORDER BY 'Chemical ID' ASC 
[img[http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/application/chalee.jpg]]
''ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชลี ไพบูลย์กิจกุล''
[[คณะเทคโนโลยีทางทะเล|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~marine/]]
[[มหาวิทยาลัยบูรพา|http://www.buu.ac.th]] [[จันทบุรี|http://www.chanthaburi.buu.ac.th]]
57 ม.1 ต. โขมง อ. ท่าใหม่
จ. จันทบุรี 22170
โทร 0-3931-0000 ต่อ 3015
แฟกซ์ 0-3931-0128
email: [[pchalee @ buu.ac.th|mailto:pchalee@buu.ac.th]]

''Assist. Prof. Dr. Chalee Paibulkichakul''
[[Faculty of Marine Technology|http://www.janburi.buu.ac.th/~marine/]]
[[Burapa University|http://www.buu.ac.th]], [[Chanthaburi Campus|http://www.janburi.buu.ac.th/]]
57 M.1, T. Khamong A. Thamai
Chanthaburi 22170
THAILAND
Tel. +(66) 3931-0000 Ext 3015
Fax. +(66) 3931-0128
email: [[pchalee @ buu.ac.th|mailto:pchalee@buu.ac.th]]

[[Welcome]]
[[News]]

[[SQL Codes]]
[[Other]]
!KMITL
ampornt@yahoo.com, charoenchai@cmg.co.th, akanghantip@yahoo.com, soytee@yahoo.com, chawis_m@yahoo.com, pawisart@yahoo.com, lertpanich@yahoo.com, ktharapoom@hotmail.com

!CU
honey_point@yahoo.com, chaichant2000@yahoo.com, chaichant@hotmail.com, jinnyp11@yahoo.com, atchariya_buethong@yahoo.com, ccbenjamas@yahoo.com, maliwan@buu.ac.th, mkutako@yahoo.com, Vichaya.G@Student.chula.ac.th, gunbua@hotmail.com, pornriddh@yahoo.com, mrdonse@yahoo.com, marinenight@hotmail.com, samornluk@biotec.or.th, tor2008@yahoo.com, httoi@ctu.edu.vn

sabsorns@chula.ac.th, Sirichai.D@chula.ac.th, lthaitha@chula.ac.th

!BIOTEC
Oraporn@biotec.or.th, sirawut@biotec.or.th,

!MT BUU
vasin@buu.ac.th, vasin10@hotmail.com, ccbenjamas@yahoo.com, pkbenjamas@gmail.com, benjamas@buu.ac.th, dheerakomporn@hotmail.com, siriwong_s@hotmail.com, tsunami_kitt@hotmail.com, rachanimuk@buu.ac.th, maliwan@buu.ac.th, mkutako@yahoo.com, st101090@ait.ac.th, napapork@buu.ac.th, bunlung@buu.ac.th, nuangsaeng_bunlung@yahoo.com, cnilkerd@hotmail.com, molruedee_sonthi@yahoo.com, mamsonthi@hotmail.com, 

bangon@buu.ac.th, plephetpol@yahoo.com, teerasak_36@chaiyo.com, yim434@hotmail.com

pichai@nsm.or.th, bangsaen2@hotmail.com, pichai@bims.buu.ac.th, makaranon82@hotmail.com, verapong@buu.ac.th, sirirat@buu.ac.th, suwannak@buu.ac.th (Suwanna Panutrakul)

!SC & ART BUU
(grass) osarujr@hotmail.com, lanchako@buu.ac.th, sarunp@buu.ac.th, matinee@buu.ac.th, akara@buu.ac.th, thararat@buu.ac.th, skunjet@yahoo.com, psrinamngoen@hotmail.com, kataijung@yahoo.com, sarunp@buu.ac.th, wijitra0349h@hotmail.com

wisit_ton@yahoo.com, wisitlee@hotmail.com, areeapisit@yahoo.com, patcharida44@hotmail.com, nhoom123@yahoo.com (pongsakorn naksawat), nuch_216@hotmail.com, ning_ch19@yahoo.com, nop8989@hotmail.com, yim434@hotmail.com, kookkai_ch@hotmail.com

!FISHERIES
poungthong2@yahoo.ie, poungtho@fisheries.go.th, prathets@fisheries.go.th, pirochas@yahoo.com, thewan_dof@yahoo.com

!BUU
kirtsana@buu.ac.th, jhunporn@hotmail.com

!MT Students
ake_freedom@hotmail.com (Ekachai malaphol)

!ARRI
nilnajc1@hotmail.com, wannanee295@hotmail.com

!KU
ffisjid@ku.ac.th (Dr. Jintana Salaenoi)

202.28.79.212
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ(มกอช.)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานว่าองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ตระหนักถึงความสำคัญของอุตสาหกรรมประมงแบบยั่งยืน จากรายงาน "สถานการณ์การประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำโลก" เดือนมิถุนายน 2555 ระบุความต้องการผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำและประมงที่เพิ่มสูงขึ้น เฉพาะการบริโภคปลาทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มจาก 128 ล้านตันในปี 2553 เป็น 172 ล้านตันในปี 2564 นอกจากนี้ ปัจจุบันอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นหนึ่งในภาคการผลิตวัตถุดิบอาหารที่เติบโตอย่างรวดเร็วที่สุด

         โดยFAO ชี้ให้เห็นความสำคัญที่รัฐบาลของแต่ละประเทศควรดำเนินนโยบายการประมงอย่างยั่งยืน โดยประเด็นเร่งด่วนอยู่ที่การคุ้มครองถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ ใช้วิธีการจับสัตว์น้ำที่ประหยัดพลังงานและส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมต่ำ ควบคุมการประมงและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในระยะยาว

         ทั้งนี้อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและประมง เป็นแหล่งอาหารสำหรับผู้คนนับพันล้านคน อีกทั้งสร้างรายได้หล่อเลี้ยงประชากรมากกว่า 1 ใน 10 ของโลก FAO ประมาณการว่ามูลค่าการส่งออกของผลิตภัณฑ์ปลาและผลิตภัณฑ์จากการประมงสูงถึงกว่า 125,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 4 ล้านล้านบาท) ในปี 2554

[[Source|http://www.suthichaiyoon.com/detail/33274]]
[[Introduction|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/fish_pop/fpd001_introduction_slide.pdf]]
[[Biostat|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/fish_pop/fpd002_biostat_slide.pdf]]
[[Growth 1|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/fish_pop/fpd003_growth1_slide.pdf]]
[[Cell division|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg001_cell_division.pdf]]
[[Cell division slide|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg001_cell_division_slide.pdf]]
[[Mendelian principles|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg003_Mendelian_principles_slide.pdf]]
[[Probability|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg006_Probability_slide.pdf]]
[[Multiple alleles|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg007_Multiple alleles_slide.pdf]]
830232 สรีรวิทยาทั่วไป General Physiology

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ เบื้องต้นทางสรีรวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง และหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต ความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในสิ่งมีชีวิต โภชนาการ และเมตาบอลิซึมที่สำคัญ กลไกการควบคุมการทำงานที่สำคัญของระบบต่าง ๆ ในสัตว์

เอกสารประกอบการสอน
[[Introduction|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy001_introduction_slide.pdf]]
[[Introduction sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy0012_Introduction.pdf]]
[[Special senses|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy002_special%20sense_slide.pdf]]
[[Special sense sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy0022_special_sense.pdf]]
[[Circulatory system|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy004_circulatory_system_slide.pdf]]
[[Cirucular system sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy004_circular_system.pdf]]
[[Muscular system|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy003_muscular_system_slide.pdf]]
[[Respiratory system|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy005_respiratory_system_slide.pdf]]
[[Respiratory system sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy005_respiratory_system.pdf]]
[[Gastrointestinal system|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy006_gastrointestinal_system_slide.pdf]]
[[Gastrointestinal system sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy006_gastrointestinal_system.pdf]]
[[Renal system|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy007_renal_system_slide.pdf]]
[[Renal system sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy007_renal_system.pdf]]
[[Acid base balance|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy008_acid_base_balance_slide.pdf]]
[[Acid base balance sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy008_acid-base_balance.pdf]]
[[Thermal regulation|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy009_regulation_of_body_temperature_slide.pdf]]
[[Thermal regulation sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/physiology/phy009_thermal_regulation.pdf]]
[[Cell division|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg001_cell_division.pdf]]
[[Cell division slide|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg001_cell_division_slide.pdf]]
[[Genetic materials|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg002_genetic_material.pdf]]
[[Genetic material slide|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg002_genetics_material_slide.pdf]]
[[Mendelian principles|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg003_Mendelian_principles_slide.pdf]]
[[Sex determination|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg004_sex_determination.pdf]]
[[Sex determination slide|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg004_sex_determination_slide.pdf]]
[[Genetic recombination|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg005_genetic_recombination.pdf]]
[[Genetic recombinaiton slide|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/general_genetics/gg005_genetic_recombination_slide.pdf]]
SELECT ch_gl.cgid AS 'Glassware ID', ch_gl.cgname AS 'Name', ch_gl.cgamount - sum( gl_borrow.gamount ) AS 'Remain Stock'
FROM ch_gl, gl_borrow, student
WHERE student.sid = gl_borrow.sid
AND gl_borrow.cgid = ch_gl.cgid
GROUP BY ch_gl.cgid
ORDER BY 'Glassware ID' ASC
Japanese scientists will have bred a new "super-tuna" within a decade that will be stronger, more resistant to disease and taste better than the bluefin presently in the oceans.
The tuna - stocks of which are in global decline - would be raised in farms to meet surging demand around the world for the traditional Japanese delicacy.
[img[http://www.telegraph.co.uk/telegraph/multimedia/archive/01435/tuna2_1435047c.jpg]]
A team from Japan’s Fisheries Research Agency, The University of Tokyo and Kyushu University is close to completing the genome sequence of the bluefin tuna to unravel the secrets of the chemical building blocks of the fish and expects to be able to start a breeding programme next year. 
“We have already completed two computer sequencing runs and have around 60 per cent of the tuna genome,” said Dr. Kazumasa Ikuta, director of research at the Yokohama-based Fisheries Research Agency.

“We expect to have the entire sequence in the next couple of months.

“We plan to use the sequence to establish a breeding programme for bluefin tuna as most aquaculture farmers presently use wild juveniles,” he said. “We want to establish a complete aquaculture system that will produce fish that have good strength, are resistant to disease, grow quickly and taste delicious.”

Stocks of tuna have declined by as much as 90 per cent in some waters and the World Wildlife Fund has warned that the Atlantic bluefin will have been wiped out within three years unless radical measures are taken to protect stocks.

In June, celebrities including Sting, Jemima Khan and Elle Macpherson signed a letter to Japanese chef Nobu, operator of the upmarket restaurant that is part-owned by Robert De Niro, vowing to boycott the chain.

“It is astounding lunacy to serve up endangered species for sushi,” wrote Stephen Fry. “There is no justification for peddling extinction, yet that is exactly what Nobu is doing in restaurants around the world.”

Discussions are presently under way in the Spanish city of San Sebastian on how to protect tuna species, with environmental groups demanding tougher quotas and the European Union proposing reducing tuna fleets.

Nine of the 23 tuna species are officially listed as under threat from overfishing, with the global annual catch of tuna at around 4.5 million tons. 

[[Source|http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/japan/5720201/Japanese-scientists-to-breed-super-tuna.html]]
!BUU
[[Library|http://www.lib.buu.ac.th/webnew/index.html]]
[[Registration|http://reg.buu.ac.th/registrar/home.asp?lang=1]]
[[Assess|http://assess.buu.ac.th/]]
[[Chan Library|http://10.201.1.32/index.html]]
[[Home|Welcome]]
''<<tag Course>>''
''<<tag Doc>>''
''<<tag About>>''
[img[http://www.janburi.buu.ac.th/~chalee/application/map.jpg]]
[[Microalgae|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/marine_tech/mt001_microalgae.pdf]]
เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ“เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ”เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€“เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ“เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€�เน€เธ�๏ฟฝ เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ•เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€ขเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝ เน€เธ�๏ฟฝ เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’ 50 เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ”เน€เธ�โ€� เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€ขเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ“เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ”เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€�เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ‘เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝ เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ“เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ‘เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ“เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€“เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ‘เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€ขเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ� เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€�เน€เธ�&nbsp;เน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ“เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ…เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ…เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ“เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ…เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ–เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝ เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ–เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ“เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€ขเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ•เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ� เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ–เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ“เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ‘เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�โ�ฌเน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ•เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€”เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ�ฌเน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ•เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ’เน€เธ�๏ฟฝเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ…เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�โ€ขเน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�เน€เธ�เธ’เน€เธ�เธ�
ลำจียก ปะสุรัมย์, ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', ไทยถาวร เลิศวิทยาประสิทธิ และ ดุสิต ศรีวิไล. (2554). ชนิดและการกระจายซีสต์ของไฟโตแฟลกเจลเลตที่ผิวตะกอนดินในบริเวณอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิจัย มข. 16: 444-453.

อนงค์ คูณอาจ, เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2553). ผลของวัตถุดิบอาหารกลุ่มโปรตีนและไขมันต่อการกระตุ้นการอยากกินอาหารในหอยหวาน //Babylonia areolata//. วารสารวิจัย มข. 15: 1061-1066.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', ณัฐพล แช่มเพ็ชร และ เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล. (2553). การพัฒนาเทคนิควัดการเจริญเติบโตของ //Skeletonema costatum// โดยการวัดพื้นที่ภาพถ่าย. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48, 3-5 กุมภาพันธ์ 2553, กรุงเทพฯ.

''Paibulkichakul, C''., and Paibulkichakul, B. (2009). Settlement rate of //Babylonia areolata// on various substrates. Proceeding of the 35th Congress on Science and Technology of Thailand, 15-17 October 2009, The Tide Resort, Chonburi, Thailand.

Paibulkichakul, B., Matusornsakoon, S., and ''Paibulkichakul, C.'' (2009). The effects of ozone and salinity on decolorization in water. Proceeding of the 35th Congress on Science and Technology of Thailand, 15-17 October 2009, The Tide Resort, Chonburi, Thailand.

Paibulkichakul, B., Longsirikong, D., Chemplee, S., and ''Paibulkichakul, C.'' (2009). Effect of optimal level of calcium and phosphorus on growth rate of spotted babylonia (//Babylonia areolata// Link, 1807). Proceeding of the 35th Congress on Science and Technology of Thailand, 15-17 October 2009, The Tide Resort, Chonburi, Thailand.

Chongmeedech, D., Paibulkichakul, B., and ''Paibulkichakul, C.'' (2009). Effect of temperature on resting egg formation of rotifer //Brachionus plicatilis// with //Chlorella// sp. Proceeding of the 35th Congress on Science and Technology of Thailand, 15-17 October 2009, The Tide Resort, Chonburi, Thailand.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', เอกชัย มาลาพล, เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล และ สรวิศ เผ่าทองศุข. (2552). ผลของขนาดฟองอากาศและความเค็มต่อประสิทธิภาพการแยกของแข็งทั้งหมดของเครื่องแยกโฟมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. วารสารวิจัย มข. 14: 556-564.

''Paibulkichakul, C.'', Piyatiratitivorakul, S., Sorgeloos, P., and Menasveta, P. (2008). Improved maturation of pond-reared, black tiger shrimp (//Penaeus monodon//) using fish oil and astaxanthin feed supplements. Aquaculture 282: 83-89.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', ทิราภรณ์ โยธะคง และ เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล. (2551). ระดับโปรตีนที่เหมาะสมของอาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโตของหอยหวาน (//Babylonia areolata// Link) วัยรุ่น. วารสารวิจัย มข. 13: 103-113.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', ทิราภรณ์ โยธะคง, วัชณี ศรีคงรักษ์ และเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล. (2551). ระดับโปรตีนที่เหมาะสมของอาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโตของหอยหวานวัยรุ่น . การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาเพื่อการเพาะและเลี้ยงหอยหวานเชิงพาณิชย์แบบครบวงจรของ ประเทศไทย”, 16 กุมภาพันธ์ 2551, สุราษฎร์ธานี.

อนงค์ คูณอาจ, เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2551). การทดสอบความอยากอาหารของหอยหวานด้วยวัตถุดิบอาหารกลุ่มโปรตีนและไขมัน. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาเพื่อการเพาะและเลี้ยงหอยหวานเชิงพาณิชย์แบบครบวงจรของ ประเทศไทย”, 16 กุมภาพันธ์ 2551, สุราษฎร์ธานี.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', จิตรรัตน์ ศรีคล้าย, ต่อพงษ์ เงินหล่อ, ศศิฬา ฉิมพลี, สุเมตต์ ปุจฉาการ และ เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล. (2551). ความแปรผันของสังคมสัตว์หน้าดินบริเวณป่าชายเลนหนองสนามไชย จังหวัดจันทบุรี. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, 29 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2551, กรุงเทพฯ.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', สุวรรณา ภาณะตระกูล, ศุภวัตร กาญจน์อติเรกลาภ และ สุธาทิพย์ มาฟู. (2551). การเปรียบเทียบการปนเปื้อนของปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนบริเวณปากแม่น้ำแขมหนู จังหวัดจันทบุรี และปากแม่น้ำระยอง จังหวัดระยอง. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, 29 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2551, กรุงเทพฯ.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', บัลลังก์ เนื่องแสง, บัญชา นิลเกิด, วศิน ยุวนะเตมีย์ และ เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล. (2550). ผลการใช้กล้วยเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตและสารเหนียวในอาหารกุ้งกุลาดำ. แก่นเกษตร 35: 215-226.

เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล, สุพรรณิการ์ สมใจเพ็ง และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2550). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพ และระยะเวลาการแช่ตัวกรองชีวภาพเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์ น้ำ. แก่นเกษตร 35: 227-234.

''Paibulkichakul, C.'', Piyatiratitivorakul, S., Kittakoop, P., Viyakarn, V., Fast, A.W., and Menasveta, P. (1998). Optimal dietary levels of lecithin and cholesterol for black tiger prawn //Penaeus monodon// larvae and postlarvae. Aquaculture 167: 273-281.

เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล, วาสนา ศิวจิรานนท์, อลิศ บัวเพ็ชร, โอฬาร วงษ์ประเสริฐ และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2549). การศึกษาผลกระทบกิจกรรมชุมชนที่แตกต่างกันที่มีผลต่อ คุณภาพน้ำของแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. ว. สงขลานครินทร์ วทท. 28: 403-415.

Paibulkichakul, B., ''Paibulkichakul, C.'', and Powtongsook, S. (2004). Effect of ozonation on bacteria and phytoplankton in the water from shrimp pond. Khon Kaen Agric. 32: 141-146.

''Paibulkichakul, C.'', Yamwong, K., Putchakarn, S. and Paibulkichakul, B. (2007). Relationship between polychaete and organic matter at ~Nong-Sanamchai mangrove forest, Chanthaburi Province. International Conference on Integration of Science & Technology for Sustainable Development, 26-27 April 2007, Bangkok, Thailand.

Paibulkichakul, B., Pronnoi, S., Putchakarn, S. and ''Paibulkichakul, C.'' (2007). Differences in decomposition and nutrients among mangroves stands of different ages in Chanthaburi Province, Thailand. International Conference on Integration of Science & Technology for Sustainable Development, 26-27 April 2007, Bangkok, Thailand.

''Paibulkichakul, C.'', Piyatiratitivorakul, S. and Menasveta, P. (2002). Effect of astaxanthin on maturation performance in adolescent pond-reared black tiger shrimp //Penaeus monodon//. Proceedings of the Fourth ~Asia-Pacific Marine Biotechnology Conference, 22-26 April 2002, Hawaii, USA.

''Paibulkichakul, C.'', Piyatiratitivorakul, S., Kittakoop, P. and Menasveta, P. (1997). Optimal levels of lecithin and cholesterol in diet for black tiger prawn //Penaeus monodon// larvae. Proceedings of the 2nd ~Asia-Pacific Marine Biotechnology Conference, 7-10 May 1997, Phuket, Thailand.

เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล, วนิดา วงศ์มะราด, วิลาวัลย์ มานิตย์, สุวิมล มณีโชติ, ชุติมา กว้างสวัสดิ์ และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2550). การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของแพลงก์ตอนพืชบริเวณป่าชายเลนหนองสนามไชย จังหวัดจันทบุรี. การประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 3, 21-23 มีนาคม 2550, กรุงเทพฯ.

เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล, กมลพร ทรัพย์สายพิณ, ดนุดา ยุวจิเสรี และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2550). ความแตกต่างของปริมาณธาตุอาหารและอินทรีย์วัตถุในป่าที่มีลักษณะต่างกันของ ป่าชายเลนหนองสนามไชย จังหวัดจันทบุรี. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45, 30 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2550, กรุงเทพฯ.

''Paibulkichakul, C.'', Buakheaw, J. and Paibulkichakul, B. (2006). Efficiency of sand, activated carbon and bioball for water treatment in Artemia culture tank. Proceeding of the 32nd Congress on Science and Technology of Thailand, 10-12 October 2006, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok.

Paibulkichakul, B., Phimsuwan, W. and ''Paibulkichakul, C.'' (2006). Decomposition of mangrove leaf letter in ~Nong-Sanamchai, Chanthaburi Province. Proceeding of the 32nd Congress on Science and Technology of Thailand, 10-12 October 2006, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok.

Paibulkichakul, B., Boonrod, S. and ''Paibulkichakul, C.'' (2006). Effect of aquacultural activities distance on abundance at ~Nong-Sanamchai Mangrove Forest, Chanthaburi province. Proceeding of the 32nd Congress on Science and Technology of Thailand, 10-12 October 2006, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok.

เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2549). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ ตัวกรองชีวภาพเพื่อการบำบัดน้ำในการเพาะเลี้ยงอาร์ทีเมีย. การประชุมวิชาการประมง ประจำปี 2549. 25-27 กรกฎาคม 2549. กรุงเทพฯ.

มกรานนท์ โพธิ์ชัย, ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย และ สุบัณฑิต นิ่มรัตน์. (2549). การพัฒนาระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดด้วยการใช้สาหร่ายและตัวกรองชีวภาพในการ บำบัดในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบพัฒนา. การประชุมวิชาการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติครั้งที่ 5. 8-10 มีนาคม 2549. กรุงเทพฯ.

''Paibulkichakul, C.'', Ussavauschariyakul, S. and Paibulkichakul, B. (2005). Effect of salinity and light intensity on total nitrogenous componds uptake efficiency of the green macroalgae //Caulerpa lentillifera//. Proceeding of the 31st Congress on Science and Technology of Thailand, 18-20 October 2005, Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima.

Paibulkichakul, B., Jangrassa, S., ''Paibulkichakul, C.'' and Powtongsook, S. (2005). Effect of aeration rate on nitrogenous compounds conversion in water and sediment from shrimp pond. Proceeding of the 31st Congress on Science and Technology of Thailand, 18-20 October 2005, Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima.

Paibulkichakul, B., Khumkum, N. and ''Paibulkichakul, C.'' (2005). Effect of salinity and light intensity on total nitrogenous compounds uptake efficiency of the red macroalga //Gracilaria edulis//. Proceeding of the 31st Congress on Science and Technology of Thailand, 18-20 October 2005, Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima.

เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล, ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'' และ สรวิศ เผ่าทองศุข. (2548). ผลของการพ่นโอโซนต่อแพลงก์ตอนในบ่อเลี้ยงกุ้ง. การประชุมวิชาการสาหร่าย และแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 2, 23-25 มีนาคม 2548, โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน, เชียงใหม่.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', นภาพร เลียดประถม, วศิน ยุวนะเตมีย์, บัญชา นิลเกิด และ บัลลังก์ เนื่องแสง. (2548). การพัฒนาระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดด้วยการใช้สาหร่ายเม็ดพริกไทย //Caulerpa// sp. และวัสดุเพิ่มพื้นที่ผิวในการบำบัดคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกลุาดำ Penaeus monodon. การประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 2, 23-25 มีนาคม 2548, โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน, เชียงใหม่.

ประภาภรณ์ เทอดสุทธิรณภูมิ และ ''ชลี ไพบูลย์กิจกุล''. (2548). ผลของความเข้มแสงและความ เข้มข้นของแอมโมเนียต่อการดูดซับสารอาหารของสาหร่ายเม็ดพริกไทย Caulerpa lentillifera. การประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอน แห่งชาติ ครั้งที่ 2, 23-25 มีนาคม 2548, โรงแรมฮอลิเดย์การ์เดน, เชียงใหม่.

Paibulkichakul, B., Jitnirat, W., Kawinphan, T., ''Paibulkichakul, C.'', Powtongsook, S. (2004) Effect of ozonation on bacteria and phytoplankton in the water from shrimp pond. Proceedings of 30th Congress on Science and Technology of Thailand, 19-21 October 2004, Impact Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani, Bangkok.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', สมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล และ เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต. (2545). ผลของน้ำมันปลาต่อความสมบูรณ์เพศในกุ้งกุลาดำพ่อแม่พันธุ์จากการเพาะเลี้ยง. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28, 24-26 ตุลาคม 2545, ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์, กรุงเทพ.

''ชลี ไพบูลย์กิจกุล'', เบ็ญจมาศ จันทะภา, สมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล และ เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต. (2545). ผลของแอสทาแซนทินต่ออัตราการเติบโตและปริมาณสเปิร์มในกุ้งกุลาดำก่อน วัยเจริญพันธุ์. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28, 24-26 ตุลาคม 2545, ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์, กรุงเทพ.
[[FAO เรียกร้องทั่วโลกตระหนักการทำประมงอย่างยั่งยืน]]
[[91% ของคอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกใช้ลินุกซ์]]
[[สกอ.ต้องถอยปรับปรุงตัวชี้วัดTQFใหม่]]
[['สัตว์น้ำต่างถิ่น' รุกรามหนัก]]
[[ปลาทูไทยเพิ่มปริมาณกว่า 6 หมื่นตันต่อปี]]
[[ธนาคารโลกชี้ทะเลไทยสุดวิกฤต เศรษฐกิจเสียหายถึง 6 พันล้าน]]
[[กรมประมง จะออกใบรับรองการจับสัตว์น้ำ]]
[[เสียงสะท้อน "ผลประเมิน สมศ." "ขัดใจ...มหา'ลัย-"ขัดความรู้สึก"...มหาชน!!]]
[[เริ่มแล้วกำหนด มาตรฐานบัณฑิต เป็นคนดีมีคุณธรรม]]
[[หวั่นทุ่มงบฯม.วิจัยเสียประโยชน์]]
[[รั้วอุดมฯกลุ่ม 3 ไร้ดีเด่น-แถมรอพินิจ]]
[[Top 10 Tools for a Free Online Education]]
[[Working Less Means Working Better, Says Study]]
[[สมศ.ประเมินมหาวิทยาลัยรอบ2ม.วิจัย"มทม.มทส."แซง"จุฬาฯ"]]
[[ชี้แอดมิชชั่นไม่ใช่คำตอบสุดท้ายเข้ามหา'ลัย]]
[[ติงมหาวิทยาลัยเพิ่มสอบ PAT ]]
[[Japanese scientists to breed 'super tuna']]
[[Self-Irrigating Desert Plant Discovered]]
[[น้ำตกเขาสอยดาว]]
[[อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง]]
[[ม.มหิดล ตีแผ่สถิติคนรุ่นใหม่แต่งงานลดลง]]
[[ผลวิจัยพบคนไทยความซื่อสัตย์-รับผิดชอบลดลง]]
[[เผยจุฬาฯอันดับ 1 ร้านเหล้ารอบรวมถึง 407 แห่ง]]
[[ครม.ทุ่มหมื่นล้านปั้นมหาวิทยาลัยวิจัยระดับโลก]]
[[สกว.ประเมินคุณภาพวิจัยอุดมฯ]]
[[Top 10 Productivity Basics Explained]]
[[Top 10 Things You Forgot Gmail Can Do]]
[[Top 10 Home Office Hacks]]
[[งานวิจัย"มศว"ชี้เหตุความล้มเหลว]]
[["8 มหา"ลัย"ไทยเจ๋ง! อันดับแถวหน้าเอเชีย]]
[["วัฎจักรสุริยะ" เริ่มแล้วจะรุนแรงที่สุดอีก 4 ปี]]
[[สิ้นสุดยุค"หนังสือพิมพ์"กระดาษ?]]
[["จุรินทร์" จี้สถาบันอุดมฯกำหนดบทลงโทษรับน้องโหด]]
[[ลดงบศึกษาปี 53 เฉียด 5 พันล้านยันไม่กระทบเรียนฟรี]]
[[โยนมหา'ลัยตัดสิน ยืมเงินค่าหน่วยกิตเสริมสภาพคล่องรัฐ]]
[[ไวรัสจาก "สัตว์" สู่ "คน" ต้นตอสารพัดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่]]
[[Welcome]]
[[HTML Codes|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/application/html_codes_chart.htm]]
<!--{{{-->
<div class='header'>
     <div class='gradient' macro='gradient vert #FF8614 #DA4A0D '>
	<div class='titleLine' >
		<span class='siteTitle' refresh='content' tiddler='SiteTitle'></span>&nbsp;
		<span class='siteSubtitle' refresh='content' tiddler='SiteSubtitle'></span>
	</div>
<div id='topMenu' refresh='content' tiddler='MainMenu'></div>
    </div>
</div>
<div id='bodywrapper'>
<div id='sidebar'>
	<div id='sidebarOptions' refresh='content' 	tiddler='SideBar'></div>
	<div id='sidebarTabs' refresh='content' force='true' tiddler=''></div>
</div>
<div id='displayArea'>
	<div id='messageArea'></div>
	<div id='tiddlerDisplay'></div>
</div>
<div id='contentFooter'>Faculty of Marine Technology, Burapha University, Chanthaburi Campus THAILAND</div>
</div>

<!--}}}-->
[[Desk references|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Desk_reference/Contents.htm]]
[[Drupal|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Drupal.pdf]]
[[Encyclopedia of aquaculture|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Encyclopedia_Aquaculture.pdf]]
[[Joomla|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Joomla.pdf]]
[[Labplot|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Labplot.pdf]]
[[Linux command reference|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/fwunixref.pdf]]
[[PSPP|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/pspp.pdf]]
[[R reference card|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/refcard.pdf]]
[[Leam Sing Tide|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Tide_LaemSing.pdf]]
[[Ubuntu cheat sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/ubunturef.pdf]]
[[Ubuntu Linux I|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Ubuntu.pdf]]
[[Ubuntu Linux II|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Ubuntu_linux.pdf]]
[[VI reference card|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Vi_Reference_Card.pdf]]
[[VIM reference card|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/VIM_Quick_Reference_Card.pdf]]
[[Wine|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/wineusr-guide.pdf]]
[[Writing scientific paper|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/Writing_a_Scientific_Paper.pdf]]
[[TiddlyWiki cheat sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/tiddlywiki_cheatsheet.pdf]]
[[Open office writer cheat sheet|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/ref/writer_generalshortcuts_cheatsheet.pdf]]
[[Introduction|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/rm/rem001_introduction.pdf]]
[[Completely randomized design|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/rm/rem002_ttest_crd.pdf]]
[[Randomized completely block design|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/rm/rem003_rcbd.pdf]]
[[Latin square design|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/rm/rem004_ls.pdf]]
[[Factorial design|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/rm/rem005_factorial.pdf]]
[[Regression analysis and Correlation analysis|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/rm/rem006_regression.pdf]]
[[Chemical stock]]
[[Glassware stock]]
[[Search individual expense]]
[[Search individual summary]]
[[Search summary]]
[[Phytoplankton culture|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/sea_farming/sef001_phytoplankton_culture_slide.pdf]]
[[Zooplankton culture|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/sea_farming/sef002_zooplankton_culture_slide.pdf]]
[[Nutrient enrichment|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/sea_farming/sef003_enrichment_technology_slide.pdf]]
SET @x =0;# ~MySQL returned an empty result set (i.e. zero rows).
SELECT @x := @x +1 AS 'No', student.sid AS 'Student ID', ch_gl.cgname AS 'Chemical name', ch_withdraw.camount AS 'Withdraw amount', @price := ch_gl.cgcostpu * ch_withdraw.camount AS 'Expense (Baht)'
FROM ch_gl, ch_withdraw, student
WHERE student.sid =46330613
AND student.sid = ch_withdraw.sid
AND ch_withdraw.cgid = ch_gl.cgid
ORDER BY 'Expense (Baht)' DESC 
SELECT student.sid AS 'Student ID', student.sname AS 'Name', round( sum( ch_gl.cgcostpu * ch_withdraw.camount ) ) AS 'Sum (Baht)'
FROM ch_gl, ch_withdraw, student
WHERE student.sid = ch_withdraw.sid
AND ch_withdraw.cgid = ch_gl.cgid
AND student.sid =47330488
GROUP BY student.sid
ORDER BY `Sum (Baht)` DESC
SELECT student.sid AS 'Student ID', student.sname AS 'Name', round( sum( ch_gl.cgcostpu * ch_withdraw.camount ) ) AS 'Sum (Baht)'
FROM ch_gl, ch_withdraw, student
WHERE student.sid = ch_withdraw.sid
AND ch_withdraw.cgid = ch_gl.cgid
GROUP BY student.sid
ORDER BY `Sum (Baht)` DESC
LIMIT 0 , 30
[img[http://www.wired.com/images_blogs/wiredscience/2009/07/rhubarb.jpg]]
A desert plant has apparently figured out how to water itself.

Ecologists had been puzzling over the desert rhubarb for years: Instead of the tiny, spiky leaves found on most desert plants, this rare rhubarb boasts lush green leaves up to a meter wide. Now scientists from the University of Haifa-Oranim in Israel have discovered that ridges in the plant’s giant leaves actually collect water and channel it down to the plant’s root system, harvesting up to 16 times more water than any other plant in the region.

“It is the first example of a self-irrigating plant,” said plant biologist Gidi Ne’eman, a co-author on the paper published in March in Naturwissenschaften, a German journal of ecology. “This is the only case we know, but in other places in the world there might be additional plants that use the same adaptions.”

rhubarb_vertical

The desert rhubarb grows in the mountainous deserts of Israel and Jordan, where there’s only about 75mm of rainfall each year. Even during the rainy season, the region’s light rainfalls often don’t penetrate the rocky soil of the desert. Plants with large leaves and a deep root system, like the desert rhubarb, typically can’t survive in such an arid climate.
[img[http://www.wired.com/images_blogs/wiredscience/2009/07/rhubarb_vertical.jpg]]
But when the researchers measured the plant’s water absorption during a light rain, they discovered that water infiltrated the soil 10 times deeper around the desert rhubarb than in surrounding areas. Upon closer examination, scientists discovered deep grooves around the plant’s veins, which are coated in a waxy cuticle that helps channel water down to the root.

“Even in the slightest rains,” the researchers wrote, “the typical plant harvests more than 4,300 cubic centimeters of water per year and enjoys a water regime of about 427 millimeters per year, equivalent to the water supply in a Mediterranean climate.”

Some scientists say the desert rhubarb isn’t all that, however. “Many plants channel water to their base to be absorbed by the root,” Lindy Brigham, a plant ecologist from the University of Arizona, wrote in an email. “Just look at the way plant leaves are shaped and how they branch from the base in many cases.” The architecture of the desert rhubarb’s leaves is unusual, she said, but not necessarily the only example of this adaptation.
[[การใช้ปูนในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/shrimp_pond/spd002_lime_using_slide.pdf]]
[[การใช้ปุ๋ยในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/shrimp_pond/spd003_fertilizer_using_slide.pdf]]
[[ออกซิเจน|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/shrimp_pond/spd004_oxygen_slide.pdf]]
[[การให้อากาศ|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/shrimp_pond/spd005_aeration_slide.pdf]]
[[Home|Welcome]]
[[Index|Update]]
[[News|News]]
<<closeAll>>
<<search>><<closeAll>><<permaview>><<newTiddler>><<newJournal "DD MMM YYYY">><<saveChanges>><<slider chkSliderOptionsPanel OptionsPanel "options" "Change TiddlyWiki advanced options">>
/***
This CSS by DaveBirss.
***/
/*{{{*/


.tabSelected {
 background: #fff;
}

.tabUnselected {
 background: #eee;
}

#sidebar {
 color: #000;
 background: transparent; 
}

#sidebarOptions {
 background: #fff;
}

#sidebarOptions input {
	border: 1px solid #ccc;
}

#sidebarOptions input:hover, #sidebarOptions input:active,  #sidebarOptions input:focus {
	border: 1px solid #000;
}

#sidebarOptions .button {
 color: #999;
}

#sidebarOptions .button:hover {
 color: #000;
 background: #fff;
 border-color:white;
}

#sidebarOptions .button:active {
 color: #000;
 background: #fff;
}

#sidebarOptions .sliderPanel {
 background: transparent;
}

#sidebarOptions .sliderPanel A {
 color: #999;
}

#sidebarOptions .sliderPanel A:hover {
 color: #000;
 background: #fff;
}

#sidebarOptions .sliderPanel A:active {
 color: #000;
 background: #fff;
}

.sidebarSubHeading {
 color: #000;
}

#sidebarTabs {`
 background: #fff
}

#sidebarTabs .tabSelected {
 color: #000;
 background: #fff;
 border-top: solid 1px #ccc;
 border-left: solid 1px #ccc;
 border-right: solid 1px #ccc;
 border-bottom: none;
}

#sidebarTabs .tabUnselected {
 color: #999;
 background: #eee;
 border-top: solid 1px #ccc;
 border-left: solid 1px #ccc;
 border-right: solid 1px #ccc;
 border-bottom: none;
}

#sidebarTabs .tabContents {
 background: #fff;
}


#sidebarTabs .txtMoreTab .tabSelected {
 background: #fff;
}

#sidebarTabs .txtMoreTab .tabUnselected {
 background: #eee;
}

#sidebarTabs .txtMoreTab .tabContents {
 background: #fff;
}

#sidebarTabs .tabContents .tiddlyLink {
 color: #999;
 border:none;
}

#sidebarTabs .tabContents .tiddlyLink:hover {
 background: #fff;
 color: #000;
 border:none;
}

#sidebarTabs .tabContents {
 color: #000;
}

#sidebarTabs .button {
 color: #666;
}

#sidebarTabs .tabContents .button:hover {
 color: #000;
 background: #fff;
}

#sidebar {color:#999;}
/*}}}*/
''Faculty of Marine Technology, Burapha University''
''//Chalee Paibulkichakul//''
http://www.janburi.buu.ac.th/~chalee/
[[SideBarWG]]

/***
!Top Menu Styles
***/
/*{{{*/
#topMenu br {display:none; }
#topMenu { background: #000 ; color:#fff;padding: 1em 1em;}
/*}}}*/

/***
!General
***/
/*{{{*/
body {
 background: #444;
 margin: 0 auto;
}

 #contentWrapper{
 background: #fff;
 border: 0;
 margin: 0 auto;
 width: 792px;
 padding:0;
}
/*}}}*/

/***
!Header rules
***/
/*{{{*/
.titleLine{
 margin: 80px auto 0em ;
margin-left:1.7em;
margin-bottom: 40px;
 padding: 0;
 text-align: left;
 color: #fff;
}

.siteTitle {
	font-size: 2em;
        font-weight: bold;
}

.siteSubtitle {
	font-size: 1.1em;
        display: block;
        margin: .5em auto 1em;
}

.gradient {margin: 0 auto;}



.header {
 background: #fff; 
 margin: 0 auto;
 padding:0 12px;
 width: 768px;
}
/*}}}*/

/***
!Display Area
***/
/*{{{*/
#bodywrapper {margin:0 12px; padding:0;background:#fff; height:1%}

#displayArea{
 margin: 0em 16em 0em 1em;
 text-align: left;
}

.tiddler {
	padding: 1em 1em 0em 0em;
}

h1,h2,h3,h4,h5 { color: #000; background: transparent; padding-bottom:2px; border-bottom: 1px dotted #666; }
.title {color:black; font-size:1.8em; border-bottom:1px solid #333; padding-bottom:0.3px;}
.subtitle { font-size:90%; color:#ccc; padding-left:0.25em; margin-top:0.1em; }

.shadow .title {
	color: #aaa;
}

.tagClear{
	clear: none; 
}

* html .viewer pre {
	margin-left: 0em;
}

* html .editor textarea, * html .editor input {
	width: 98%;
}

.tiddler {margin-bottom:1em; padding-bottom:0em;}


.toolbar .button {color:#bbb; border:none;}
.toolbar .button:hover, .toolbar .highlight, .toolbar .marked, .toolbar a.button:active {background:transparent; color:#111; border:none; text-decoration:underline;}

#sidebar .highlight, #sidebar .marked {background:transparent;}

.tagging, .tagged {
	border: 1px solid #eee;
	background-color: #F7F7F7;
}

.selected .tagging, .selected .tagged {
	background-color: #eee;
	border: 1px solid #bbb;
}

 .tagging .listTitle, .tagged .listTitle {
	color: #bbb;
}

.selected .tagging .listTitle, .selected .tagged .listTitle {
	color: #222; 
}


.tagging .button:hover, .tagged .button:hover {
		border: none; background:transparent; text-decoration:underline; color:#000;
}

.tagging .button, .tagged .button {
		color:#aaa;
}

.selected .tagging .button, .selected .tagged .button {
		color:#000;
}

.viewer blockquote {
	border-left: 3px solid #000;
}

.viewer pre, .viewer code {
	border: 1px dashed #ccc;
	background: #eee;}

.viewer hr {
	border: 0;
	border-top: solid 1px #333;
 margin: 0 8em;
	color: #333;
}

.highlight, .marked {background:transparent; color:#111; border:none; text-decoration:underline;}

.viewer .highlight, .viewer .marked {text-decoration:none;}

#sidebarTabs .highlight, #sidebarTabs .marked {color:#000; text-decoration:none;}

.tabSelected {
 color: #000;
 background: #fff;
 border-top: solid 1px #ccc;
 border-left: solid 1px #ccc;
 border-right: solid 1px #ccc;
 border-bottom: none;
}

.viewer .tabSelected:hover{color:#000;}

.viewer .tabSelected {font-weight:bold;}

.tabUnselected {
 color: #999;
 background: #eee;
 border-top: solid 1px #ccc;
 border-left: solid 1px #ccc;
 border-right: solid 1px #ccc;
 border-bottom: solid 1px #ccc;
 padding-bottom:1px;
}

.tabContents {
 background: #fff;
  color: #000;
}
/*}}}*/
/***
!!!Tables
***/
/*{{{*/
.viewer table {
	border: 1px solid #000;
}

.viewer th, thead td {
	background: #000;
	border: 1px solid #000;
	color: #fff;
}

.viewer td, .viewer tr {
	border: 1px solid #111;
}
/*}}}*/


/***
!!!Editor area
***/
/*{{{*/
.editor input, .editor textarea {
	border: 1px solid #ccc;
}

.editor {padding-top:0.3em;}

.editor textarea:focus, .editor input:focus {
	border: 1px solid #333;
}
/*}}}*/

/***
!Sidebar
***/
/*{{{*/
#sidebar{
position:relative;
float:right;
margin-bottom:1em;
display:inline;
width: 16em;
}

#sidebarOptions .sliderPanel {
	background: #eee; border:1px solid #ccc;
}

/*}}}*/

/***
!Body Footer rules
***/
/*{{{*/
#contentFooter {
 text-align: left;
 clear: both;
 color:#fff;
 background: #000;
 padding: 1em 2em;
font-weight:bold;
}

/*}}}*/
/***
!Link Styles
***/
/*{{{*/
a{
	color: #000;
}

a:hover{
        color: #FF6600;
        background:#fff;
}


.button {
	color: #000;
	border: 1px solid #fff;
}

.button:hover {
	color: #fff;
	background: #ff8614;
	border-color: #000;
}

.button:active {
	color: #fff;
	background: #ff8614;
	border: 1px solid #000;
}

.tiddlyLink {border-bottom: 1px dotted #000;}
.tiddlyLink:hover {border-bottom: 1px dotted #FF6600;} 

.titleLine a {border-bottom: 1px dotted #FF9900;}

.titleLine a:hover {border-bottom: 1px dotted #fff;}

.siteTitle a, .siteSubtitle a{
 color: #fff;
}

.viewer .button {border: 1px solid #ff8614; font-weight:bold;}
.viewer .button:hover, .viewer .marked, .viewer .highlight{background:#ff8614; color:#fff; font-weight:bold; border: 1px solid #000;}

#topMenu .button, #topMenu .tiddlyLink {
 margin-left:0.5em; margin-right:0.5em;
 padding-left:3px; padding-right:3px;
 color:white;
}
#topMenu .button:hover, #topMenu .tiddlyLink:hover { background:#000; color:#FF8814}

#topMenu a{border:none;}
/*}}}*/

/***
!Message Area /%=================================================%/
***/
/*{{{*/
#messageArea {
	border: 4px dotted #ff8614;
	background: #000;
	color: #fff;
        font-size:90%;
}

#messageArea .button {
	padding: 0.2em;
	color: #000;
	background: #fff;
        text-decoration:none;
        font-weight:bold;
        border:1px solid #000; 
}

#messageArea a {color:#fff;}

#messageArea a:hover {color:#ff8614; background:transparent;}

#messageArea .button:hover {background: #FF8614; color:#fff; border:1px solid #fff; }

/*}}}*/

/***
!Popup /%=================================================%/
***/
/*{{{*/
.popup {
	background: #ff8814;
	border: 1px solid #333;
}

.popup hr {
	color: #333;
	background: #333;
	border-bottom: 1px;
}

.popup li.disabled {
	color: #333;
}

.popup li a, .popup li a:visited {
	color: #eee;
	border: none;
}

.popup li a:hover {
	background: #ff8614;
	color: #fff;
	border: none;
        text-decoration:underline;
}
/*}}}*/

.blog h2, .blog h3, .blog h4{
  margin:0;
  padding:0;
border-bottom:none;
}
.blog {margin-left:1.5em;}  


.blog .excerpt {
  margin:0;
margin-top:0.3em;
  padding: 0;
  margin-left:1em;
  padding-left:1em;
  font-size:90%;
  border-left:1px solid #ddd;
}

#tiddlerWhatsNew h1, #tiddlerWhatsNew h2 {border-bottom:none;}
div[tags~="RecentUpdates"], div[tags~="lewcidExtension"] {margin-bottom: 2em;}

#hoverMenu  .button, #hoverMenu  .tiddlyLink {border:none; font-weight:bold; background:#f37211; color:#fff; padding:0 5px; float:right; margin-bottom:4px;}
#hoverMenu .button:hover, #hoverMenu .tiddlyLink:hover {font-weight:bold; border:none; color:#f37211; background:#000; padding:0 5px; float:right; margin-bottom:4px;}

#topMenu .fontResizer {float:right;}

#topMenu .fontResizer .button{border:1px solid #000;}
#topMenu .fontResizer .button:hover {border:1px solid #f37211; color:#fff;}
#sidebarTabs .txtMainTab .tiddlyLinkExisting {
 font-weight: normal;
 font-style: normal;
}

#sidebarTabs .txtMoreTab .tiddlyLinkExisting {
 font-weight: bold;
 font-style: normal;
}

.blog h2, .blog h3, .blog h4{
  margin:0;
  padding:0;
border-bottom:none;
}
.blog {margin-left:1.5em;}  


.blog .excerpt {
  margin:0;
margin-top:0.3em;
  padding: 0;
  margin-left:1em;
  padding-left:1em;
  font-size:90%;
  border-left:1px solid #ddd;
}

#tiddlerWhatsNew h1, #tiddlerWhatsNew h2 {border-bottom:none;}
div[tags~="RecentUpdates"], div[tags~="lewcidExtension"] {margin-bottom: 2em;}

#hoverMenu {background:transparent;}
#hoverMenu  .button, #hoverMenu  .tiddlyLink {border:none; font-weight:bold; background:#f37211; color:#fff; padding:0 5px; float:right; margin-bottom:4px;}
#hoverMenu .button:hover, #hoverMenu .tiddlyLink:hover {font-weight:bold; border:none; color:#f37211; background:#000; padding:0 5px; float:right; margin-bottom:4px;}

#topMenu .fontResizer {float:right;}

#topMenu .fontResizer .button{border:1px solid #000;}
#topMenu .fontResizer .button:hover {border:1px solid #f37211; color:#fff;}
#sidebarTabs .txtMainTab .tiddlyLinkExisting {
 font-weight: normal;
 font-style: normal;
}

#sidebarTabs .txtMoreTab .tiddlyLinkExisting {
 font-weight: bold;
 font-style: normal;
}

<<list all>>
<<tabs txtMoreTab "Missing" "Missing tiddlers" TabMoreMissing "Orphans" "Orphaned tiddlers" TabMoreOrphans "Shadowed" "Shadowed tiddlers" TabMoreShadowed>>
<<list shadowed>>
<<allTags excludeLists>>
<<timeline>>
[[Introduction|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc001_introduction.pdf]]
[[General requirement|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc002_gen_requirement.pdf]]
[[Medium|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc003_medium.pdf]]
[[Upscaling|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc004_upscaling.pdf]]
[[Purification|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc0053_purification_slide.pdf]]
[[Harvesting|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc006_harvest_slide.pdf]]
[[Prepare medium|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc007_Prepare medium.pdf]]
[[Rotifer culture|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc008_rotifer.pdf]]
[[Artemia culture|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc010_artemia_culture.pdf]]
[[Growth measurement|http://www.chanthaburi.buu.ac.th/~chalee/subject/plankton/tpc102_growth_measurement.pdf]]
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/home_office_splash2.jpg]]
Whatever kind of work you do at home, your office is one place you want to spend the time to make comfortable and convenient. Take 10 of our tips on organizing, fixing, and streamlining that space.

10. Get more natural or ambient light
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/top10_mirror.jpg]]
If you aren't blessed with ample windows or non-annoying overhead lighting, getting a bit of illumination around your workspace can be accomplished in ways more subtle, and less expensive, than adding more lamps. One of the Dumb Little Man blog's 10 cheap home office improvements involves a strategically placed mirror, which helps those with bright light going the wrong way re-capture it. When Jason was deep in his extreme home office makeover, he found that cheap rope lights made for great ambient illumination, especially as the sunlight changes in early morning and late afternoon.

9. Keep your PCs clean and quiet
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/dirty-fan.jpg]]
For a dedicated work desk, a desktop PC makes senseเน�โ�ฌโ€�it's far more bang for the buck, and you can use whatever size monitor you'd like. But desktop systems tend to get dirty, hot, and louder over time. Luckily, you need only a can of compressed air, some household oil, and a screwdriver to evacuate PC dust bunnies and get your system running with lower drag again. If it's just a noisy, case-shaking hard drive at the heart of your overly-audible system, try quieting it with rubber shocks or elastic suspenders. Starting over with a new system? Build it for silence from the start, and you'll hardly ever know your system is running.

8. Cover the non-obvious comforts

A really, seriously comfy chair. Wall colors other than white or beige. Extras of everything you occasionally run out of. You've probably put a whole bunch of thought into the precise layout of your computer desktop, but the trim and details of your home office often go sorely under-attended. The tail end of Sara Rimer's write-up about her perfect home office explicates the niceties that made her work-from-home life much more bearable. And readers gave up their own tips, like keeping the printer away from the computer (enforced away-from-screen breaks), and making the trash can and shredder as universally accessible as possible (clutter killers).

7. Install a worthy whiteboard
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/whiteboard.png]]
Even if you're a total computer obsessive, having a space to leave must-notice reminders and sketch out your thoughts. If the tiny-but-affordable models at your local office store don't do it for you, or you want something a bit more personalized, think outside the wood-framed white. A glass version isn't quite as high-contrast readable, but certainly durable and might work against a white wall. You could also grab some stick-on, removable dry erase sheets for those moments of fleeting big-picture inspiration. Know a supposedly busted erase board about to hit the curb? Draw over the permanent marker or stuck-on erasable ink with another dry-erase marker, wipe it away, and you might be good as new. Need just a little reusable note space? Grab a CD "jewel" case and put one together. Anywhere you've got a vertical surface, you can make a magnetic-backed whiteboard with two coats of paint you can pick up at Home Depot.

6. Rescue your filing cabinet
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/top10_file_cabinet.png]]
It seems like everyone over a certain age has a file cabinet of some sorts, but so many of them end up as supplemental shelf space cluttered with paper, and sometimes even the paper you would file inside it. That's a pretty clear sign that something's gone awry with your filing system. Gina rescued her own cabinet with better labels and a re-thinking of its purpose and use. The Simple Dollar helps out those who mostly use their cabinet for financial backup with the best document organizing system. And if you're the type to pull a folder and let it hang around, shame yourself into returning it by bookmarking its absence. Need something more, well, file-geeky? Try our complete filing cabinet page.

5. Charge and stash your gadgets away

Remember when one power strip was all you needed for everything electronic in your life? Yeah, we do too, and still wish the Bills had won that Super Bowl. But these days, your cell phone, camera battery, iPod, work phone, laptop battery, and other gear require both space and voltage. Keeping them off your desk space, yet still easily found and charged, is easy to accomplish. You can simply convert a cheap bedside table or soften up a simple box, or get fancy by adding switches or automatic lighting. If you've just got one or two things to keep handy but out of the way, a wall-mounted charger, made from an empty lotion bottle, no less, might be all you need. Here's a video showing one of our (and our readers') favorites, the IKEA-purchased charger box:

4. Keep wires out of sight
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/wireless.png]]
The entirely wireless workspace can be a reality, but not everybody's upgraded every single component in their work life to Wi-Fi or Bluetooth. Plus, non-iMac monitors will be wired into the immediate future. It's really cheap and not at all handyman-level to get wireless, either. Adam did it in 2006, Gina did a 2007 redux, and we've revisited the gear and guidelines a few times since. You can get to cordless simplicity with clamps, geek out over a concealed surge protector. There's no one-size-fits-all solution, but the project is almost always worth the two-lattes-at-Starbucks price of entry.

3. Make it easy on your eyes, arms, and ... seat
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/top10_ergonomics.png]]
Your body didn't evolve over 200,000 years to sit at a desk and use a computer eight-ish hours per day. The best you can do is try and lessen the impact of a modern work day on the parts that get the most taxed. The Ergotron site has a really helpful ergonomic workspace planner that provides ideal heights for desks, chairs, monitors, and other office components, along with a workspace assessment to see how your current setup holds out under stress tests. If that's all too much, simply move your monitors to just below eye level, as Reader's Digest suggests. If you're really keen on getting away from the standard office routine, gather up the tools and build your own standing desk space.

2. Get a label makerเน�โ�ฌโ€�the lightsaber of organization
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/top10_label_maker_01.png]]
Next time you feel the deep, strong need to run out and buy another plastic box for your stuff, ask yourself if you couldn't get just as far by putting a new label on a box you already have. That's the key to a label makerเน�โ�ฌโ€�it lets you design an organization system from your own work flow, not the other way 'round. We've previously revealed our crush on the Brother P-touch Home and Hobby model, but our label-loving readers have a few other recommendations, too.

1. Keep it clean
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/04/clean_workspace.png]]
Sounds easy at first glance, doesn't it? Buy some stacking inboxes, put the coffee mugs away when you're done with them, and file everything you're not working on away. Boy, don't we wish. Our own Jason totally remade his entire home office space, from floors to walls, using a number of tried and tested organization and physical re-arrangements. I have only a single desk to manage, but found it cluttered enough to clean it and keep it that way, mostly by banishing my "junk drawer" and maximizing the horizontal real estate on it. However you tackle your decluttering project, pick something that sticks, and which makes putting things away take no more time than throwing something out.

[[Source|http://lifehacker.com/5195844/top-10-home-office-hacks]]
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/inbox_productivity.jpg]]
There's a core set of habits and techniques that filter and color a lot of what we write about at Lifehacker, but we rarely step back to explain them for newcomers. Let's get back to basics with 10 productivity tactics.
10. Doable to-do lists
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/doable_todo.jpg]]
As our founding editor so aptly puts it, every worker of any stripe has two different hats they wear, and can switch between them often: the Boss hat, when tasks are thought up, broken into steps that can be done, and a deadline set; and the Personal Assistant hat, when work is cranked out and reported on. Gina's breakdowns of the art of the doable to-do list and practicing a simplified Getting Things Done method are great places to start out on the path toward getting better at setting up your tasks and knocking them down. Knowing how most information workers are inundated these days, she also warns us to separate email from to-dos, and shows how to shuttle material between the two.

9. Ninja-like search skillz
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/ninja_skills.jpg]]
A newly-licensed lawyer doesn't know everything about every law out there, but they know where and how to find out more about them. Similarly, building up your abilities to find obscure stuff on the web, and in your email, makes you more prepared and ready to roll with whatever you have to learn more about next. Start with 10 obscure Google search tricks to make finding cached pages and specific files an instinct, and learn how phrases like "better than" and "reminds me of" can harness the power of crowds. Get the same kind of thought-to-search-result powers in Gmail with advanced filters and persistent searches, or do much of the same in Outlook with categories and search folders. Look into any search engine's options or help menus, and you're bound to find out a whole lot of tricks you had no idea you could pull off.

8. Remind your future self (a.k.a. tickler files)
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/tickler_file.jpg]]
Tickler files, in the journalism world, are date-labeled folders that reporters check every day and put documents or story ideas into that aren't needed now, but could be vital down the line. A lot of folks have probably switched over to calendars they can access online, but the principles and usefulness remain the same. Gina traded her month-and-date-labeled paper folder system for a Yahoo Calendar tickler, but her system certainly works in Outlook, on Google Calendars, and many other places. Once you've got a system to jump in front of your Future Self every morning and scream "Today's the day to start working on that project due this October!", you'll want to fine-tune how, exactly, you talk to Future Self. We've covered one specific, concise idea: write as if you were delegating to somebody taking over your jobs for the day.

7. Ubiquitous capture
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/ubiquitous_capture.jpg]]
Your mind doesn't follow your schedule when it comes to great ideas. Holiday gift ideas can pop up in July, project breakthroughs come Saturday afternoons at the mall, and design inspirations show up when you're hundreds of miles from your house. If you're always ready to jot down or photograph an idea and, more importantly, are in the habit of doing so efficiently, you can pull your long-forgotten ideas from your secondary brain when you need them. Evernote is an increasingly popular platform that runs on Windows, Macs, most smartphones, and even on most regular phones via email; we call it a tool to expand your brain. The Hipster PDA costs about 1/8 of a Starbucks drink and gets the job done for those inclined to write rather than type. There are lots of tools available for grabbing your thoughts when you need one, and how you use them should depend on your trade, and mindset. Geek rock God Jonathan Coulton, for instance, uses a voice recorder app on his iPhone to quickly hum or sing song ideas as they come to him, as explained in our interview—he just pretends he's calling somebody when he does it in public. Photo by Marcin Wichary.

6. Timers and working in dashes
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/timer.jpg]]
"Crunch these expense report figures for 10 minutes." That's way more appealing and understandable than "Have a briefing on your trip ready by Friday." That second command is what your boss says; the first, a little challenge you give your mind. Set up a timer on your desk or on your computer, pick just a small part of a bigger task you need to do, then hit the clock and go. Give yourself a little break, maybe 2 or 4 minutes every 10, then crank on another work dash. At day's end, you've turned out way more than if you'd pretended to work "all day," and your to-dos are swept away as you run toward the weekend. Here's 43Folders' original post on dashes.

5. Quick searches (web)
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/quick_searches_web.jpg]]
Here's a little not-quite-secret disclosure: Editors at this site do dozens of Google site:lifehacker.com searches every day, tracking down old articles and (mostly) ensuring that topics and software already covered don't get posted again. We don't head to Google.com to do them, or even use the default Google search bar in our browsers. Most of us have instead turned those specific Google instructions into a "quick search" in Firefox, and use that to quickly find items from the address bar (this editor, for example, would hit Alt+D, then type lh productivity basics to find this article). It's not only Google searches that can be made quicker; in Firefox, right-clicking on any search box lets you create a quick search. We've previous demonstrated and linked 15 quick searches, shown the easier system for Firefox 3, demonstrated that Google's Quick Search has similar powers, and fallen for experimental Firefox extension Ubiquity as an even faster, smarter quick search commander.

4. Quick searches (local)
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/quicksilver.jpg]]
Your computer knows where everything is inside it. You don't need, therefore, a cluttered Start menu, Dock, or shortcut-stuffed desktop to get to your files and applications, but a way to tell your computer what you want to do next. An app like Quicksilver on the Mac, Launchy on Windows (or just the Windows keyboard button itself on Vista), or Gnome-Do on Linux connects the first few letters of what you're thinking about to exactly that thing. With practice, you'll search out files you can't even name, perform multi-step actions, and search the web from the same launcher, and never want to return to double-clicking that "Work documents" folder five times a day.

3. Inbox Zero
Email can't overwhelm you if it isn't there. So practicing the art and craft of Inbox Zero is kind of like clearing off a desk—you act on the items you can quickly dismiss, assign the stuff that's actually somebody else's job at the moment to them, and put the rest somewhere to be acted on at a specific date. The idea is just to clear it out and not let it pile up, so you can put your full brain into all that stuff you used to do before email came into your life.

2. Keyboard shortcuts
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/keyboard_shortcuts.jpg]]
The more you pull your hand away from a relaxed position on the keyboard to move the mouse, the more strain you put on your hands, wrists, and arms. You're also more likely to get distracted if you pull away from an alert, in-control posture. Learning and internalizing the keyboard shortcuts of your operating system and most-used applications keeps you moving in them. Over time, those muscle memories provide an effortless control that leaves you free to spend your working day's energy on actual thought, not File, Save As, Browse, etc. Here's a list of Windows 7 shortcuts, Microsoft's shortcuts list for XP/Vista, and Apple's official list; the individual programs, you'll have to learn for yourself.

1. Text expansion
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/06/texter.jpg]]
You write some blocks of text over and over. "My address is ..." for example, or addresses you enter frequently into mapping web sites, or a list of email addresses. Text expansion tools instantly write those blocks for you when you write a trigger word, and are smart enough to auto-insert dates, text you've just copied, and then move the cursor to where you'll be. On Windows computers, your Lifehacker editors use Texter, while the Mac writers run TextExpander (your sole Linux stalwart is tinkering with AutoKey at the moment). Save yourself a few words at a time, and soon you'll have freed yourself from hours of mechanical typing.

[[Source|http://lifehacker.com/5303204/top-10-productivity-basics-explained]]
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/forgotgmailheader.png]]
When friends push friends onto Gmail, it usually involves talking up the seemingly limitless storage space, the fast-moving interface, or its inter-connectedness with other Google applications, like Calendar. Those features are all fine and good, but Gmail does a lot of helpful things that some users never get to dig into. From one short web address, you can video chat Skype-style with contacts, ensure you didn't leave yourself logged in elsewhere, help mom gradually migrate from her old dial-up-era email address, and pluck a single message out of tens of thousands. Let's dig in and take a look at Gmail's less-touted features for power users.

10. Change Gmail's look entirely with themes.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmail_theme.png]]
Adam did the yeoman's work of compiling screenshots and thumbnails of Gmail's new Themes, accessible through a Settings tab, and one can see that they're more than just a font switch and background image. Gmail's themes cover a nice range of aesthetic choices, geekiness, cute-overload, elegant color tweaks, and, for those who put a lot of time in on the screen, dark-themed schemes. If you haven't checked them out yet, they're certainly worth a look, if only to give your eyes a rest from all the variants of light blue.

9. Launch video and audio chats, no Skype required.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmail_vidchat.jpg]]
It's Windows-only at this point, and still requires a little browser plug-in, but it's surprising how little fanfare Gmail's native video chat application has received. It's comparable quality to most software-based solutions, it's got a full-screen mode, and, well, if the person's not all that intriguing, you can minimize them and get back to your email.

8. Back up your email from any system.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmail_backup.jpg]]
Just because Google wants you to put your digital life in the cloud doesn't mean you can't have your own copy of your own messages and attachments. There are lots of ways to get your entire Gmail dump onto your desktop. We're currently into Gmail Backup, which is graphical for Windows and command line for Linux and Mac OS X. You can also grab it with the command-line-based Fetchmail, grab them via POP with Thunderbird, or use the web-based StashMyMail for 99 cents, if you don't mind the third-party-ness of it. To back up another email account using Gmail's generous storage space, you can always BCC: your outgoing messages to a Gmail account to make sure you've always got an online searchable copy of your mail.

7. See all the places where you're signed in, and remotely sign out.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmail_signouts.png]]
Friends' and significant others' computers, work, public terminalsเน�โ�ฌโ€�people sign into Gmail from all kinds of places, and don't always remember to hit that privacy-ensuring "Sign Out" in the upper-right corner. At the very bottom of any Gmail inbox, though, is a text line showing where else the account is open, along with a list of sign-in times and IP addresses and a button that signs you out of everything but the browser you're in right then. No need to worry, then, that your friends' willpower will ever be tested by discovering you're still signed in on their system.

6. Serve as a central, synchronized, smarter contact list.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmailcontacts.png]]
Used to be that Gmail put everyone you sent five emails to went into your contacts, but they've wised up and created two lists: Your true contacts, and those oft-mailed but not well-known folks into "Suggested" contacts. That makes Google a much nicer, cleaner place to sync your computers and devices from. Mac users can pull Google Contacts into their Address Book with or without an iPhone, Blackberry owners can hook up too, and fans of Thunderbird have got their own tool as well. Oh, and the Google-centric Android platform does it too, of course.

5. Consolidate all your email accounts.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmail_consolidate.jpg]]
Gmail eliminates the need to ever have to send one of those very late, apologetic "Don't check this email often" replies from your ancient accounts. Gina's explained how straightforward it is to consolidate multiple email addresses into Gmail, with full importing of messages from any POP or IMAP-compliant account (almost all of them are) and the ability to keep sending emails from your old address, eliminating the need for mass pleas to update address books.

4. Help friends find their own Gmail messages or bookmark your own.

"You honestly do not have my email explaining how to take care of my dogs and disable the alarm system? Okay, no, it's no big thing, Steve. Hit this link, it should take you to the right message: http://mail.google.com/mail/#search/buster+alarm+code+Pedigree" That kind of universal search link is pretty helpful, but the addresses of any email you open in Gmail are also permalinks for the account owner, meaning you can create lists of emails you need to get back to, bookmark an important thread in your browser favorites, and save them for any other purpose or list.

3. Keep your Gmail account(s) on your desktop.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/top10_google_gadget.png]]
More than one of the Lifehacker editors had gotten used to keeping Gmail and Lifehacker's Google Apps email open in two browser tabs, clicking over when a new message hit the title bar. With the just-launched Google Desktop Gadget, though, all the basic actions of emailเน�โ�ฌโ€�read, star, label, delete, respondเน�โ�ฌโ€�can fit into a corner of your desktop. If you're good with Gmail's keyboard shortcuts, the gadget works with those, too, and can be opened in multiple instances for different accounts. Pretty neat stuff, but if it's not worth installing the whole Google Desktop suite for, check out the other ways our readers get their Gmail notifications.

2. Give you total search power.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/gmail_search.jpg]]
It's easy to forget that the company providing Gmail is, by and large, a search specialist, and has given its webmail app some serious search, filter, and organization tools. Don't waste time scrolling through page after page of your mom's emailเน�โ�ฌโ€�find that one email she sent a few months back, with the attached JPEG file and mentioning that cat, Mr. Nibbles or Snibbles or whatnot--from:Stacey after:2008/09/01 has:attachment (nibbles OR snibbles). You can start at learning the basic operators, then take Adam's tips on building advanced filters and persistent searches.

1. Do much, much more with Gmail Labs experimental features.
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2008/12/top10_gmail_labs.jpg]]
It started out as a modest set of tweaks and small Oh Neat items, but Gmail's Labs section has become a powerhouse of email features. From Labs' increasingly-long list of tools, you can set up canned responses for standard replies, stop yourself from forgetting attachments, get your Google Calendar agenda and Remember the Milk tasks, get at all your various attachment types with Quick Links, and many, many more tweaks. Labs isn't particularly hidden away or obscure, but if you haven't taken the time to scroll down the list of options, you're almost certainly missing out on something that makes your webmail home a bit more comfortable.

Those are our picks for ten tricks that Gmail pulls off without a lot of praise, but everyone uses their webmail differently. Let's hear your own hidden (or obvious) Gmail tricks and glad-hands in the comments.

[[Source|http://lifehacker.com/5103016/top-10-things-you-forgot-gmail-can-do]]
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/lifehacker/2009/03/learning_online.jpg]]
It's easy to forget these days that the internet started out as a place for academics and researchers to trade data and knowledge. Recapture the web's brain-expanding potential with these free resources for educating yourself online.

Photo by Sailor Coruscant.

10. Teach yourself programming
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_37aba63feb7273069d674593740ff28f.jpg]]
Coding, whether on the web or on the desktop, is one of those skills you'll almost never regret having. Coincidentally, the web is full of people willing to teach, and show off, programming skills. Whether you're looking to knock out a modest Firefox extension or tackle your first programming language, there's no requirement to run out and buy the thickest book you can find at Barnes & Noble. Google Code University, for instance, hosts a whole CSE program's worth of straight-up coding lessons in its bowels. We've pointed out a lot of other programming resources found around the web, so you should be able to get started in almost any project. As for the random, unexpected, seemingly inscrutable bugs, well ... welcome to the fold.

9. Get a Personal MBA
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_9c96dd36b879ea0f67f94a8020cc435d.png]]
"MBA programs don't have a monopoly on advanced business knowledge: you can teach yourself everything you need to know to succeed in life and at work." The Personal MBA site occasionally updates its list of dozens of helpful business books, designed to teach both the nuts-and-bolts money stuff and the kind of thinking one needs to get ahead in sales, marketing, or wherever your interests lie. A business school can offer networking, mentoring, and other perks, but nobody can teach you enthusiasm and business savvy—except yourself.

8. Learn to actually use Ubuntu

Too often, newcomers to Ubuntu, the seriously popular Linux distribution, find that their questions about any problem great or small is answered with a curt "Search the forums," or "Just Google it." From experience, that's like telling someone there's maple sap somewhere in that forest, so here's a nail and get moving. With a brand-new installation sitting on your computer, few resources are as straight-forward and comprehensive as the Ubuntu Guide, which is packed with common stuff like installing VLC and getting VLC playback, but spans across topics including Samba and remote printing configuration. Author Keir Thomas also offered Lifehacker readers a little preview of his Ubuntu Kung Fu in two excerpts that tweak one's system into a faster, more efficient data flinger.

7. Get started on a new language
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_5d7284f05972a35fa1a07ca0c36de36c.png]]
Nobody's pretending you can talk like a local without some immersion experience. But there's a lot of resources on the web for honing an already-sharpened second language, or at least picking up some of the vocab and nuances. Learn10 gives you 10 vocabulary builders delivered every day by email, through iGoogle, through an iPhone page, or most any other way you'd like. One Minute Languages podcasts its lessons and lets newcomers stream from the archives. And Mango Languages has about 100 lessons, shown to you in PowerPoint style with interstitial quizzes, to move you through any language without cracking a book. Not that books are bad, of course, but this is stuff you can crack out during a coffee break.

6. Trade your skills, find an instructor
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_f33c4d0cfa4b96b742bffb7a92c8453a.jpg]]
As Ramit Sethi put it in our interview, many people don't realize the value of the skills they do have, whether it's something as simple as higher-level English or software lessons for those in need. A site like TeachMate capitalizes on the inherent disparities in our interests, letting someone willing to teach a bit of, for example, Russian language get cooking lessons in return. If a site like TeachMate doesn't quite reach you, try Craigslist, which, especially in a recession, is brimming with people looking to trade skills instead of cash.

5. Academic Earth and YouTube EDU
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_df303a59c2c42fa72aafd10e33d80cb6.png]]
We have to guess that having a giant, searchable database of free academic lectures was just too good an idea for two different web firms to pass up. Academic Earth has been described as a Hulu-like aggregator for lots of major universities' content, and offers the slicker and more navigable front-end for them, as well as allowing embedding and sharing with no restrictions. YouTube EDU might have a broader reach, and the player and format might be a bit more familiar to most. Both sites offer both individual lectures and full course series, and are definitely worth checking out.

4. Teach yourself all kinds of photography
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_3f328154880b17e96d2a60bd2bcc3b35.jpg]]
Sites like Photojojo and Digital Photography School are oft-linked resources around Lifehacker, and for good reason. They let the uber-technical shooters run wild in forums and discussion groups, but focus the majority of their front-page posts on things that beginning DSLR shooters and moderate consumer-cam photographers can grasp and mix into their daily camera work. Of course, we've compiled and sought out our own digital photography advice at Lifehacker, including photographer Scott Feldstein's guide to mastering your DSLR camera (Part 1 and Part 2), and our compilation of David Pogue's best photography tricks, plus ours. Then there's the simple pleasures of posting on Flickr, seeking out Photo by Marcin Wichary.

3. Get an unofficial liberal arts major

Whole-mind learning doesn't end the day you declare a major and start sending out resumes. A huge number of universities offer up some of their most unique and fascinating resources for free online, posting up databases, image galleries, and all kinds of stuff you wish you had time to dig through during your undergrad years. Learn everything you ever wanted to about Picasso at Texas A & M's Picasso Project. Indulge your inner geo-geek with super hi-res images from Hirise at the University of Arizona. Tour the world's spaces in 3D with The World Wide Panorama at UC Berkeley. Wendy Boswell discovered those resources and way more in her discovery of the .edu underground, and you can find a lot more down there, too.

2. Learn an instrument
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_2b25b14e962dff5eba3c4a79780ec068.png]]
If being dropped off at the music store/mall/piano teacher's house wasn't a memorable part of your childhood, you might dig the digital age's equivalents a lot more. Guitar players, in particular, have a lot of places to turn for video, audio, and graphical teaching tools. Adam rounded a lot of them up in his guide to learning to play an instrument online. If you want to build a foundation for learning any instrument, though, Ricci Adams' Musictheory.net has Flash-based tutorials that offer a gentle tour through keys, time signatures, modalities, and the other ins and outs of notes and chords.

1. Learn from actual college courses online
[img[http://cache.gawker.com/assets/images/17/2009/07/thumb160x_279c1b57be5fbf3930eb7db4697272ea.png]]
A huge number of colleges, universities, and other degree-granting universities are going all open-source these days—giving away the actual guts of their courses, while retaining their revenue stream by awarding degrees only to those who pay. In this day and age, though, programming, marketing, design, and other self-taught skills are pretty valuable, however you came by them. Whether you're looking to break into a field or just augment your skill set, dig into our guide to getting a free college education online, which we then updated a bit with Education Portal's list of ten universities with the best free online courses. Just think about it—at home, with your coffee and comfortable chair, you're far more awake than the average co-ed who totally should have hit the hay a bit earlier last night.

Where do you turn when you have to teach yourself something? What skills or topics would you like to see more coverage of on Lifehacker, or just anywhere on the web? Help us plan a curriculum in the comments.

[[Source|http://lifehacker.com/5188342/top-10-tools-for-a-free-online-education]]
[[Update fisheries news]]
Situation and fisheries goods price from [[DOF|http://www.fisheries.go.th]]

[[Marine shrimp|http://fishco.fisheries.go.th/fisheconomic/situation/marineshrimp_main.html]]
[[Tuna|http://fishco.fisheries.go.th/fisheconomic/situation/tuna_main.html]]
[[Squid|http://fishco.fisheries.go.th/fisheconomic/situation/squid_main.html]]
[[Tilapia|http://fishco.fisheries.go.th/fisheconomic/situation/Tilapia_main.html]]
[[Freshwater prawn|http://fishco.fisheries.go.th/fisheconomic/situation/freshwaterprawn_main.html]]
[[Fish meal|http://fishco.fisheries.go.th/fisheconomic/situation/fishmeal_main.html]]
<!--{{{-->
<div class='title' macro='view title'></div>
<div class='subtitle'><span macro='view modified date'></span></div>
<div class='viewer' macro='view text wikified'></div>
<div class='tagClear'></div>
<!--}}}-->
Welcome to website of Assist. Prof. Dr. Chalee Paibulkichakul
[[ประกาศคะแนนสอบกลางภาควิชา 830231 Genetics ส่วนของ อ.ชลี|https://docs.google.com/spreadsheet/ccc?key=0Ag70pUizARLjdGF0Y193d1BzbmhISmpuNTJaa2dGWXc]]



It's no surprise that cutting back on work and taking regular breaks is beneficial for workers, but a four-year study from the Harvard Business School found that less work also benefits workers—and workplace productivity—in less obvious ways.
The experiment enforced predictable time off to help its subjects get rid of the feeling that they've got no truly free time from work—what they called "bad intensity"—taking steps as small as requiring that each consultant got at least one night a week when they wouldn't be called or pinged on their BlackBerrys after 6pm. The results:

    @@Working together to make sure each consultant got some time off forced teams to communicate better, share more personal information and forge closer relationships. They also had to do a better job at planning ahead and streamlining work, which in some cases resulted in improved client service, based on interviews with clients.@@

I'd hope that most of you are already getting at least one such day a week if not five, but maybe I'm out of touch. Let's hear how your schedule compares—and whether you feel like you've got enough predictable, uninterrupted time away from work—in the comments.

[[Source|http://lifehacker.com/5366210/working-less-means-working-better-says-study]]

ด้วยการขึ้นทะเบียนเรือประมงไทย และการออกใบอาชญาบัตรการทำประมง ป้องกันการกีดกันการนำเข้าของต่างประเทศ...

กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ โดยกรมประมง ได้เตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันการการกีดกันการนำเข้าภายใต้เงื่อนไขดัง กล่าว ด้วยการการออกใบรับรองการจับสัตว์น้ำที่จับโดยเรือประมงไทย และการออกใบรับรองสำหรับวัตถุดิบที่นำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งไทยมีมาตรการป้องกันการทำประมงผิดกฎหมาย ด้วยการขึ้นทะเบียนเรือประมงไทย และการออกใบอาชญาบัตรการทำประมง ส่วนการออกใบรับรองวัตถุดิบสัตว์น้ำที่นำเข้าจากต่างประเทศ ไทยได้แจ้งสหภาพยุโรปประสานกับประเทศคู่ค้าของไทยในการออกใบรับรองการจับ สัตว์น้ำ เพื่อประกอบการส่งสินค้าประมงมายังไทยด้วย  เพื่อให้ไม่เกิดปัญหาในการนำเข้าวัตถุดิบสัตว์น้ำของผู้ประกอบการไทย

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/40968]]
พร้อมเปิดรับสมัครมหาวิทยาลัยที่มีความสามารถด้านวิจัยและมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด เข้าร่วมโครงการ...

นาย จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รมว.ศึกษาธิการ แถลงข่าว "โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ" ว่า เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของมหาวิทยาลัยไทยในระดับโลก และยกระดับขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ตนได้มอบนโยบายให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทำโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติขึ้น โดย ครม.อนุมัติงบประมาณ 12,000 ล้านบาท ต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553-2555 โดยจะเปิดรับสมัครมหาวิทยาลัยที่มีความสามารถด้านวิจัยและมีคุณสมบัติตาม เกณฑ์ที่กำหนด เข้าร่วมโครงการ จากนั้นจะนำผลการคัดเลือกเสนอ ครม.เพื่อประกาศเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

รมว.ศึกษาธิการกล่าว อีกว่า โครงการนี้จะทำให้ไทยมีมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติไม่ต่ำกว่า 7-10 แห่ง ตั้งเป้าว่าหลังดำเนินโครงการแล้วมหาวิทยาลัยเหล่านี้ต้องได้รับการยอมรับ รวมทั้งต้องได้รับการจัดอันดับที่สูงขึ้นในระดับโลก โดยมีการประเมินผลทุก 1 ปี เพื่อพิจารณาศักยภาพดีขึ้นตามที่ตั้งไว้หรือไม่

ด้าน ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กล่าวว่า สกอ.จะเปิดรับสมัครมหาวิทยาลัยที่มีความสนใจเข้าโครงการตั้งแต่วันที่ 1-10 ก.ค. และจะมีการพิจารณาตัดสินภายในวันที่ 17-20 ส.ค. ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยไทยทั้งหมดที่มีอยู่กว่า 165 แห่ง ปรากฏว่า มีมหาวิทยาลัยที่ติดอันดับ ของ THE-QS ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอยู่ในอันดับที่ 166 มหาวิทยาลัยมหิดล 251 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 400.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/16807]]
|!Code	|!Total 120	|
|50330053	|	23	|
|50330084	|	54	|
|50330572	|	68	|
|50330664	|	41	|
|50330732	|	54	|
|50330763	|	30	|
|50330800	|	33	|
|50330855	|	38	|
|50330916	|	52	|
|50330930	|	49	|
|50330961	|	44	|
|50331012	|	30	|
|50331050	|	50	|
|50331135	|	64	|
|50331142	|	45	|
|50331333	|	43	|
|50331380	|	50	|
|50370042	|	28	|
|50370615	|	28	|
|	Code	|	คะแนนดิบ 140	|
|	50330947	|	37	|
|	52330002	|	41	|
|	52330005	|	26	|
|	52330008	|	29	|
|	52330018	|	42	|
|	52330019	|	29	|
|	52330023	|	27	|
|	52330050	|	56	|
|	52330055	|	67	|
|	52330076	|	-	|
|	52330079	|	33	|
|	52330112	|	29	|
|	52330117	|	59	|
|	52330118	|	46	|
|	52330121	|	45	|
|	52330125	|	27	|
|	52330126	|	33	|
|	52330127	|	47	|
|	52330129	|	63	|
|	52330130	|	29	|
|	52330131	|	31	|
|	52330133	|	30	|
|	52330134	|	45	|
|	52330135	|	28	|
|	52330136	|	32	|
|	52330137	|	47	|
|	52330138	|	47	|
|	52330140	|	26	|
|	52330142	|	60	|
|	52330143	|	8	|
|	52330144	|	33	|
|	52330145	|	27	|
|	52330147	|	57	|
|	52330149	|	38	|
|	52330150	|	45	|
|	52330151	|	35	|
|	52330152	|	44	|
|	52330153	|	35	|
|	52330154	|	40	|
|	52330155	|	26	|
|	52330156	|	46	|
|	52330157	|	38	|
|	52330158	|	-	|
|	52330159	|	40	|
|	52330160	|	59	|
|	52330162	|	-	|
|	52330165	|	30	|
|	52330166	|	26	|
|	52330167	|	89	|
|	52330169	|	29	|
|	52330170	|	28	|
|	52330172	|	5	|
|	52330173	|	63	|
|	52330175	|	56	|
|	52330176	|	46	|
|	52330177	|	48	|
|	52330178	|	62	|
|	52330179	|	28	|
|	52330180	|	41	|
|	52330181	|	52	|
|	52330182	|	42	|
|	52330185	|	24	|
|	52330187	|	42	|
|	52370003	|	35	|
|	52370004	|	38	|
|!Code	|!Total 134	|
|50330947	|	52	|
|52330002	|	51	|
|52330005	|	43	|
|52330008	|	48	|
|52330018	|	47	|
|52330019	|	37	|
|52330023	|	40	|
|52330050	|	65	|
|52330055	|	67	|
|52330076	|	59	|
|52330079	|	58	|
|52330112	|	34	|
|52330117	|	75	|
|52330118	|	32	|
|52330121	|	62	|
|52330125	|	53	|
|52330126	|	51	|
|52330127	|	46	|
|52330129	|	52	|
|52330130	|	38	|
|52330131	|	42	|
|52330133	|	51	|
|52330134	|	49	|
|52330135	|	59	|
|52330136	|	65	|
|52330137	|	30	|
|52330138	|	66	|
|52330140	|	66	|
|52330142	|	62	|
|52330143	|	30	|
|52330144	|	46	|
|52330145	|	35	|
|52330147	|	51	|
|52330149	|	41	|
|52330150	|	49	|
|52330151	|	53	|
|52330152	|	47	|
|52330153	|	25	|
|52330154	|	43	|
|52330155	|	57	|
|52330156	|	39	|
|52330157	|	36	|
|52330158	|	51	|
|52330159	|	49	|
|52330160	|	54	|
|52330162	|	35	|
|52330165	|	58	|
|52330166	|	59	|
|52330167	|	59	|
|52330169	|	52	|
|52330170	|	60	|
|52330172	|	66	|
|52330173	|	72	|
|52330175	|	34	|
|52330176	|	51	|
|52330177	|	20	|
|52330178	|	61	|
|52330179	|	40	|
|52330180	|	45	|
|52330181	|	58	|
|52330182	|	31	|
|52330185	|	48	|
|52330187	|	77	|
|52370003	|	39	|
|52370004	|	31	|
งานวิจัย"มศว"ชี้เหตุความล้มเหลวการรู้หนังสือ-ภาษาที่2ของ"ไทย-เทศ" ญี่ปุ่นสนใจหวังใช้กระตุ้นคนในชาติ

รศ. เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ อาจารย์ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) เปิดเผยงานวิจัยในโครงการประภาคารการรู้หนังสือด้วยแนวทฤษฎี การสอนแบบมุ่ง "ประสบการณ์ภาษา" หรือ Lighthouse Literacy Project Through Concentrated Language Encounter Instruction ซึ่งเป็นความร่วมมือของ มศว องค์กรโรตารีสากล และกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ว่า งานวิจัยชิ้นนี้เป็นกระบวนการเรียนการสอนด้านภาษาเพื่อมุ่งเน้นการรู้ หนังสือให้กับคนไทย และชาวต่างชาติกว่า 10 ประเทศ ได้แก่ ลาว มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บังกลาเทศ เนปาล อินเดีย แอฟริกาใต้ บราซิล ตุรกี อียิปต์ เป็นต้น มุ่งเน้นในกลุ่มผู้เรียนหลายวัย ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา และผู้ใหญ่ ยังเรียนอยู่ในระบบและนอกระบบการศึกษา นอกจากนี้ ยังเป็นเด็กที่เรียนในระบบการศึกษาพิเศษ ซึ่งมีความผิดปกติทางการได้ยิน และการมองเห็น ผู้ที่มีความผิดปกติทางร่างกายพิการแขนขา เด็กออทิสติค รวมทั้ง เด็กเร่ร่อน ขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังสนใจวิธีการรู้หนังสือแนวทฤษฎีการสอนแบบมุ่งเน้น ประสบการณ์ภาษาอย่างมาก แม้จะไม่มีปัญหาการรู้หนังสือ แต่ต้องการเรียนรู้ ศึกษาวิธีการ เพื่อใช้กับการเรียนรู้ภาษาที่สองอย่างภาษาอังกฤษให้กับชาวญี่ปุ่น

" การเรียนรู้หนังสือด้วยแนวทฤษฎีการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นธรรมชาติในการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น หลัก ใช้กิจกรรมที่กระตุ้นการเรียนรู้แบบธรรมชาติให้ผู้เรียนได้ทดลองใช้ภาษา ไม่ว่าจะเป็นภาษาแม่ ภาษาที่สอง ที่สาม ใช้หลักการทางสมองเป็นหลัก ควบคู่ไปกับศักยภาพส่วนตัวที่เรียกว่าพหุปัญญา และใช้จิตวิทยาหลายด้านเข้าร่วม สิ่งสำคัญเด็กได้ค้นคว้า ลงมือปฏิบัติทางภาษาด้วยตัวเอง การสอนในลักษณะนี้ไม่ว่าเด็ก หรือผู้ใหญ่ เมื่อได้เรียนรู้ด้วยวิธีการนี้จะสนุกและอยากเรียนรู้ งานวิจัยมุ่งเน้นไปที่เด็กหรือผู้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือ หรือรู้บ้าง เน้นกิจกรรมที่ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นหลัก กิจกรรมที่ใช้ได้ผลคือการฝึกอาชีพ หรือวิชาชีพเป็นหลัก การมุ่งเน้นให้คนรู้หนังสือด้วยวิธีการนี้ใช้เวลาไม่มากนัก ถ้าเป็นภาษาแม่ หรือภาษาประจำชาติ ใช้เวลาแค่ 3 เดือน และต้องเรียนรู้ภาษาผ่านกิจกรรม 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ถ้าเป็นภาษาอื่นๆ บางคนต้องใช้เวลา 6 เดือน และต้องเรียน 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์" รศ.เสาวลักษณ์กล่าว

รศ. เสาวลักษณ์กล่าวว่า แม้งานวิจัยชิ้นนี้สำเร็จ และได้รับการยอมรับจากประเทศต่างๆ แต่สังคมไทยยังไม่สนใจ โดยเฉพาะรัฐบาล และ ศธ.ไม่เอาจริงเอาจัง จึงเห็นว่าการรู้หนังสือของเด็กไทยยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ส่วนภาษาที่สองอย่างภาษาอังกฤษ เด็กไทยยังสื่อสารไม่รู้เรื่อง เพราะผู้เรียนไม่ได้เรียนและนำไปใช้จริง อีกทั้ง ผู้เรียนถูกตีกรอบให้เรียนมากเกินไป ถูกบังคับให้เรียนในเรื่องต่างๆ ที่ไม่อยากเรียน จึงไม่สนใจ

[[Source|http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01edu19220552&sectionid=0107&day=2009-05-22]]
ทปอ.ยอมรับแก้ไม่ตกปัญหาเด็กกวดวิชา ย้ำปรับแอดมิชชั่นกะทันหันก็ไม่ผิดก.ม.

ศ.ดร.สุรพล นิติไกรพจน์ อธิการบดี ม.ธรรมศาสตร์ (มธ.) รองประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวในการประชุมวิชาการ “ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบกลางการรับนิสิต นักศึกษาหรือแอดมิชชั่น” เมื่อเร็ว ๆ นี้ ว่าการรับตรงจะทำให้ได้เด็กตามที่ต้องการมากที่สุด แต่กลับเป็นการปิดกั้นและทำลายโอกาสหรือความฝันของเด็กทั้งประเทศ  โดยเฉพาะเด็กต่างจังหวัดที่จะไม่มีโอกาสเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยชื่อดังได้ เลย ตนจึงเห็นว่าระบบแอดมิชชั่นที่ทำอยู่มีความเหมาะสมและมีเหตุผลรองรับ และหวังว่าในอนาคตมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่หันไปเน้นรับตรงจะเปลี่ยนใจมาเข้าแอดมิชชั่นกลางมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มแพทย์ เพราะระบบกลางจะเป็นการให้โอกาสแก่เด็กจริง ๆ ส่วนการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์แอดมิชชั่น โดยไม่ประกาศล่วงหน้า 3 ปีนั้น ตนยืนยันว่าไม่ผิดกฎหมาย แต่ต้องมีเหตุผลและความจำเป็นในการปรับเปลี่ยน ไม่เลือกปฏิบัติ และสามารถใช้กับทุกคนได้อย่างเสมอภาค
   
ศ.ดร.สุรพล กล่าวต่อไปว่า หากใครไม่เห็นด้วยหรือคิดจะฟ้องทปอ.ก็คงไม่ชนะ เพราะอำนาจในการตัดสินใจรับนิสิตนักศึกษาเป็นของ   มหาวิทยาลัยโดยตรง และสิ่งที่มหาวิทยาลัยก็ทำเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม  ส่วนจะเป็นการละเมิดเสรีภาพทางการศึกษาหรือไม่นั้น จริง ๆ แล้วเสรีภาพทางการศึกษาคือการเปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกเรียนในสิ่งที่ ต้องการอยากจะเรียน ไม่ใช่ว่าอยากจะเรียนที่ใดก็ต้องรับเข้าเรียนทุกคน ไม่เช่นนั้นใครอยากจะทำงานอะไร ทางกระทรวงแรงงานก็จะต้องมาจัดให้ทั้งหมด
   
ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะประธาน ทปอ. กล่าวว่า ที่ผ่านมาแม้จะมีการปรับเปลี่ยนระบบการคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยมาตลอด แต่ก็ยังไม่สามารถลดการกวดวิชาของนักเรียนลงได้ เด็กยังคงไม่สนใจการเรียนในห้องเรียน และยังเครียดทั้งครอบครัว แสดงว่าเรายังไม่พบระบบการคัดเลือกที่ดีที่สุด จึงจำเป็นต้องพัฒนา    ไปเรื่อย ๆ แต่ทั้งนี้ไม่ว่าจะคัดเเลือกด้วยวิธีใดก็ต้องยึด 4 ป. คือ ประสิทธิ ภาพ โปร่งใส ประหยัด และปรัชญาการศึกษา.

[[Source|http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=42&contentID=11803]]
จี้ กกอ.ตัดสิทธิเด็กควบ 2 แห่ง

รศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ข้อเสนอให้ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เพิ่มการทดสอบความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ หรือ PAT ในหลายวิชาสะท้อนให้เห็นว่า มหาวิทยาลัย คณะ และภาควิชา ยึดความต้องการของตนเองเป็นหลัก โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อเด็กเพราะยิ่งสอบ PAT จำนวนมากเท่าไร เด็กก็ต้องมุ่งกวดวิชาเพื่อสอบ PAT มากขึ้นเท่านั้น ซึ่งนอกจากจะทำให้เด็ก ไม่มีความสุขในการเรียนรู้แล้วยังทำให้เด็กและผู้ปกครองต้องเสียเงินค่ากวด วิชาเพิ่มมากขึ้นด้วย

รศ.ดร.สมพงษ์ กล่าวด้วยว่า ขณะนี้มีผู้ปกครองส่งเรื่องร้องเรียนถึง ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรม การการอุดมศึกษา (กกอ.) ว่า มีนักศึกษาแพทย์ ปี 1 วิทยาลัยแพทย ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ซึ่งสอบผ่าน ระบบรับตรงของกลุ่มสถาบันแพทย ศาสตร์ แห่งประเทศไทย (กสพท.) และสอบผ่านระบบรับตรงเข้าเรียนคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้อีก โดยเด็กใช้สิทธิเรียนทั้ง 2 แห่ง ซึ่งเป็นการผิดระเบียบ เด็กจะต้องถูกปรับออกทั้ง  2 คณะ ตนจึงอยากให้ ดร.สุเมธ   เร่งแก้ไขให้เด็กเลือกเรียนในคณะใดคณะหนึ่ง และต้องเร่งป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นในปีหน้า เพราะเด็ก เห็นช่องโหว่แล้ว และในปีหน้าหากเกิดกรณีเอาอย่าง ก็จะเป็นการปิดกั้นที่เรียนของคนอื่น.

[[Source|http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=42&contentID=12137]]
เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับธนาคารโลก จัดรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยปี 2549 เรื่องการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดย ดร.จิเทนดร้า ชา เจ้าหน้าที่อาวุโสประสานงาน ธนาคารโลกประจำประเทศไทย กล่าวว่า จากการประเมินสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของธนาคารโลกในปีนี้ พบว่าการกัดเซาะชายฝั่ง เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมอันดับต้นๆ โดยแนวชายฝั่งของไทยหลายพื้นที่กำลังเผชิญกับการกัดเซาะในอัตรามากกว่า 1-5 เมตรต่อปี คิดอัตราสูญเสียพื้นดินโดยรวมแล้ว จะอยู่ที่ 2 ตารางกิโลเมตรต่อปี คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจสูงถึง 6,000 ล้านบาท ขณะที่การแก้ปัญหาส่วนใหญ่มักจะลงทุนด้านสิ่งก่อสร้างเป็นหลัก โดยไม่ได้คำนึงถึงมูลค่าของการสูญเสียพื้นที่ดิน ตลอดจนการเสียโอกาสเรื่องของการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดินนั้นๆ ตลอดจนผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชน มีมูลค่าสูงกว่าเงินลงทุนก่อสร้างหลายเท่า

ดร.ชา กล่าวอีกว่า สาเหตุของปัญหาการสูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง เกิดจากการขยายตัวของเมืองและการเติบโตของอุตสาหกรรมชายฝั่งในช่วง 30 ปี ก่อนเนื่องจากมีประชากรอาศัยตามชายฝั่งทะเลเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งการส่งเสริมท่องเที่ยว การขนส่งทางทะเล การประมงน้ำเค็มและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยเฉพาะฟาร์มเลี้ยงกุ้งเพิ่มจาก 26% เป็น 47% จนส่งผลให้เกิดความสูญเสียและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่เกิดขึ้นอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะพื้นที่ชุ่มน้ำชายฝั่งทะเลบริเวณพรุควนขี้เสี้ยน จ.พัทลุง เป็นตัวอย่างพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งและการ ท่องเที่ยว ขณะที่สถานภาพของแนวปะการังในอันดามัน 80% และอ่าวไทย 50% อยู่ในสภาพปานกลางถึงเสื่อมโทรมมาก และยังมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่องด้วย

ดร.ชา ระบุด้วยว่า ธนาคารโลกเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา 5 แนวทาง คือ 
1.การลดการกัดเซาะชายฝั่งและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ โดย ทช.ควรต้องมีมาตรการเชิงวิศวกรรมแบบผสมผสานและคำนึงถึงความเหมาะสมแต่ละพื้นที่ 
2.สนับสนุนวางแผนการประมงแบบยั่งยืน 
3.เพิ่มมาตรการและการส่งเสริมประสิทธิภาพของการกำกับดูแลการพัฒนาพื้นที่ ชายฝั่งทะเล เช่น การควบคุมจำนวนฟาร์มเลี้ยงกุ้ง 
4.กระตุ้นให้ส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาท และ 
5.ส่งเสริมนโยบายและการบริหารทรัพยากร และปรับปรุงหมายให้เอื้อต่อการบูรณาการ เป็นต้น

[[Source|http://www.giggog.com/social/cat2/news1607/]]
 อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว น้ำตกอยู่ห่างจากที่ทำการประมาณ 4 กิโลเมตร มี 16 ชั้น บริเวณธารน้ำตกมีผีเสื้อจำนวนมากเหมาะสำหรับการดูผีเสื้อและศึกษาพรรณไม้ ซึ่งพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาวนั้นมีสภาพป่าดงดิบที่สมบูรณ์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อน โดยมียอดเขาสูง 2 ยอด คือ ยอดสอยดาวเหนือและสอยดาวใต้ ความสูงของยอดสูงสุดคือ ยอดสอยดาวใต้ อยู่ที่ประมาณ 1,675 เมตรจากระดับน้ำทะเล สภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์เป็นต้นกำเนิดของธารน้ำหลายสาย ไหลตกลงมาเป็นน้ำตกเขาสอยดาวขนาดใหญ่ ท่ามกลางป่าลึกที่ยังคงความเป็นธรรมชาติ นักท่องเที่ยวจะต้องเดินเท้าเข้าไปชม ตลอดเส้นทางเดินชมน้ำตกมีทั้งความงามและความตื่นเต้นท้าทาย เช่น ชั้นน้ำตกที่ต้องปีนผาไปตามรากไทรสูงราว 20 เมตร กระทั่งถึงน้ำตกชั้นบนสุดซึ่งมีขนาดสูงใหญ่ งดงามยิ่ง นักท่องเที่ยวสามารถเดินขึ้นน้ำตกได้ถึงชั้นที่ 9 ระยะทาง 2.5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินขึ้นเกือบ 2 ชั่วโมง ส่วนชั้นที่ 10–16 ต้องมีเจ้าหน้าที่นำทาง ใช้เวลาเดินอีก 1 ชั่วโมง บริเวณน้ำตกมีบ้านพักรับรองบริการนักท่องเที่ยว
        นอกจากนี้ที่เขตรักษาพันธุ์ฯ ยังมี เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ ชื่อเส้น “ลีลาไทร” เริ่มจากที่ทำการเขตรักษาพันธุ์ฯ ระหว่างเส้นทางจะพบพูพอน ไลเคน ไทร ยางแดง โป่งธรรมชาติ แต่ละเส้นทางจะมีคำบรรยายเขียนไว้ ใช้เวลาเดินประมาณ 2 ชั่วโมง ระยะทาง 2 กิโลเมตร
        
สถานที่พัก   ทางเขตรักษาพันธุ์ฯ มีบริการบ้านพักไว้สำหรับนักท่องเที่ยว จำนวน 3 หลัง พักได้ 10-50 คน ในกรณีที่นำเต็นท์มาเองเสียค่าพื้นที่กางเต็นท์ ราคา 30 บาท/คน/คืน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว อำเภอเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี 22180 โทร. 0 1384 5164 หรือกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรุงเทพฯ โทร. 0 2562 0760 วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-18.00 น., วันเสาร์ เวลา 09.00-15.30 น. หรือ http://www.dnp.go.th

การเดินทาง    เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาวอยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 70 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 317 ที่มุ่งสู่อำเภอสระแก้ว ผ่านอำเภอโป่งน้ำร้อน ถึงหลักกิโลเมตรที่ 22 ก่อนถึงตลาดปะตงจะมีทางแยกซ้ายเข้าไปอีก 4 กิโลเมตร ถึงที่ทำการเขตฯ น้ำตกเขาสอยดาวอยู่ห่างออกไป 5 กิโลเมตร เป็นทางรถยนต์ 2.5 กิโลเมตร และเดินเท้าต่ออีกประมาณ 2 กิโลเมตร หรือนั่งรถประจำทางจากจันทบุรี-สระแก้ว ลงที่ตลาดปะตงแล้วเหมารถสองแถวไปส่งที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาวราคา ประมาณ 100-150 บาท อนุญาตให้พักแรมได้ในบริเวณที่จัดไว้โดยจะต้องติดต่อกับเจ้าหน้าที่ก่อน

[[Source|http://thai.tourismthailand.org/attraction/chanthaburi-22-1808-1.html]]
"ปลาทู” เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงบริเวณกลางน้ำถึงผิวน้ำ ตั้งแต่บริเวณชายฝั่งจนถึงระดับความลึกไม่เกิน 80 เมตร  ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งหมด 3 ชนิด คือ 1. ชนิดตัวสั้น หรือ ปลาทู ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่นิยมบริโภคมากที่สุด 2. ปลาลัง หรือ ปลาทูโม่ง และ 3. ปลาทูปากจิ้งจก ซึ่งปัจจุบันนี้พบค่อนข้างน้อย ปลาทู นับเป็นปลาที่ผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาหารทะเลหลักของคนไทยมาช้านาน ในอดีตเชื่อว่าปลาทูที่จับได้ในทะเลอ่าวไทยมาจากเกาะไหหลำ แต่ปัจจุบันพบว่าปลาทูเกิดในอ่าวไทยเป็นปลาผิวน้ำ รวมกันเป็นฝูงบริเวณใกล้ฝั่ง พบเฉพาะบริเวณอุณหภูมิผิวน้ำไม่ต่ำกว่า 17 องศาเซลเซียส ความเค็มของน้ำไม่เกิน 32.5% แต่ทนความเค็มต่ำได้ถึง 20.4% จึงพบในบริเวณน้ำกร่อยได้ ปลาทูจะวางไข่แบบไข่ลอยน้ำ ไข่ที่ได้รับการผสมจะลอยน้ำอยู่ได้ ช่วงที่วางไข่คือ เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ของทุกปี
   
ดร.สมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า จากความนิยมในการ  บริโภค ทำให้ปลาทูถูกจับขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์จำนวนมาก โดยมีการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้จับอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบันจากการทำการประมงเพื่อการบริโภคภายในประเทศก็ขยายเป็นการประมง เพื่อการส่งออกในหลายรูปแบบนับตั้งแต่การส่งออกปลาสดไปจนถึงการส่งออก ผลิตภัณฑ์แปรรูป จนกระทั่งจำนวนปลาทูในอ่าวไทยเริ่มลดจำนวนลง
   
ดังนั้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์และคงไว้ซึ่งปริมาณปลาทูในทะเลไทยให้มีไว้ใช้ประโยชน์ ได้อย่างยาวนาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมประมงจึงมีมาตรการภายใต้ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดห้ามใช้เครื่องมือทำ การประมงบางชนิดในฤดูปลามีไข่ วางไข่ และเลี้ยงตัวในวัยอ่อน  ในที่จับสัตว์น้ำบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพรและสุราษฎร์ธานี ภายในระยะเวลาที่กำหนด ฉบับลงวันที่ 24  มกราคม 2550 ซึ่งกรมประมงใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการปฏิบัติงานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร น้ำและบริหารจัดการการทำประมงในบริเวณพื้นที่ ดังกล่าว
   
จากการดำเนินงานในมาตรการดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโดยครอบคลุมพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 26,400 ตารางกิโลเมตรนั้น พบว่าทรัพยากร สัตว์น้ำโดยเฉพาะปลาผิวน้ำได้แก่ ปลาทู ปลาลัง ปลาข้างเหลือง ปลาแซ็กหร้า ปลากะตัก ปลาหน้าดิน ได้แก่ ปลาตาหวาน ปลาทรายแดง ปลาปากคม ได้รับการฟื้นฟู มีการผสมพันธุ์วางไข่ และเลี้ยงลูก ทำให้มีทรัพยากรสัตว์น้ำรุ่นใหม่เข้ามาทดแทนทรัพยากรสัตว์  น้ำที่ถูกจับไปใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอ
   
จนสามารถรักษาระดับผลผลิตปลาทูทุกพื้นที่ในอ่าวไทยให้ยั่งยืนที่ระดับเฉลี่ย 100,000 ตันต่อปี คิดเป็นมูลค่าประมาณ 3,500 ล้านบาทต่อปี ส่วนพื้นที่ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และสุราษฎร์ธานี มีผลผลิต 60,000 ตันต่อปี มูลค่าประมาณ 2,100 ล้านบาทต่อปี อัตราการจับสัตว์น้ำของเครื่องมือประมงที่ถูกห้ามทำการประมง เปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการใช้มาตรการ พบว่าอัตราการจับของเครื่องมือทุกประเภทมีค่าสูงขึ้นหลังจากการประกาศใช้ มาตรการนี้
   
จากการศึกษาปริมาณการจับปลาทูจากเครื่องมือประมง อวนลอยปลาทู อวนล้อมจับ อวนลากเดี่ยวและอวนลากคู่ของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนกลางโดย วิธีการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ในปี 2551 เครื่องมือประมงกลุ่มอวนล้อมจับประมาณ 44,177 ตัน อวนลอยปลาทูประมาณ 23,617 ตัน อวนลากเดี่ยวประมาณ 1.44 ตัน อวนลากคู่ประมาณ 728 ตัน รวมทั้งปีมีปริมาณปลาทูถูกจับมาใช้ประโยชน์ประมาณ 68,524 ตัน และในปี 2552 เครื่องมือประมงกลุ่มอวนล้อมจับประมาณ 48,347 ตัน อวนลอยปลาทูประมาณ 14,630 ตัน อวนลากเดี่ยวประมาณ 2.75 ตัน อวนลากคู่ประมาณ 432 ตัน รวมทั้งปีมีปริมาณปลาทูถูกจับมาใช้ประโยชน์ประมาณ 63,412 ตัน
   
“สิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นการพิสูจน์ได้ว่ามาตรการห้ามการจับสัตว์น้ำในช่วงฤดู ปลา มีไข่ วางไข่ และเลี้ยงตัวอ่อนในที่จับสัตว์น้ำบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพรและสุราษฎร์ธานี ของกรมประมงนั้น เป็นการดำเนินงานเพื่อการคงไว้ซึ่งทรัพยากรสัตว์น้ำสำหรับการนำมาใช้ ประโยชน์ของผู้คนในสังคมให้มีอยู่อย่างยั่งยืนและยาวนานนั่นเอง” ดร.สมหญิง กล่าว.

[[Source|http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=340&contentID=53457]]
[img[http://www.thairath.co.th/media/content/2009/07/01/300/16516.jpg]]
ศูนย์คุณธรรม เผย ผลสำรวจพบคนไทย มีระดับคุณธรรมจริยธรรม ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีวินัยลดลง จากอดีต ชี้ ครอบครัวควรปลูกฝังให้เด็กมากที่สุด ...

เมื่อวันที่ 30 มิ.ย. น.ส.นราทิพย์ พุ่มทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริม และพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม(ศูนย์คุณธรรม) เปิดเผยว่า ศูนย์คุณธรรม ได้ร่วมกับ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดลในการจัดทำ โครงการวิจัยคุณลักษณะ และกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย เพื่อหาแนวทางการปลูกฝังคุณธรรมให้แก่สังคมไทย ซึ่งขณะนี้ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก และครอบครัวได้สำรวจระดับความคิดเห็นของคนไทย ในหัวข้อสถาบันหลักกับการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในเด็กและเยาวชนไทย จากกลุ่มตัวอย่าง 5 กลุ่ม ได้แก่ ครู นักธุรกิจ บุคคลสาธารณะ บุคคลทั่วไปและนักเรียน จำนวน 1,110 ตัวอย่าง พบว่าระดับคุณธรรมจริยธรรมในหมู่คนไทย เมื่อเทียบกับอดีตที่ผ่านมาโดยเฉพาะความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีสติสัมปชัญญะ ความมีวินัย ลดลง

น.ส.นราทิพย์ กล่าวต่อว่า ในคำถามเกี่ยวกับสถาบัน หรือองค์กร ในปัจจุบัน ที่ควรมีบทบาทปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่เด็กมากที่สุด เห็นว่า ควรเป็นสถาบันครอบครัว ร้อยละ 70 รองลงมา ควรเป็นองค์กรธุรกิจ เมื่อแยกตามอายุ พบว่าเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปีและ กลุ่มคนอายุ 20-29 ปี เห็นว่าสถาบันครอบครัวเป็นความหวัง สำหรับพวกเขาในการถ่ายทอดคุณธรรมจริยธรรมรองลงมาเป็นสถาบันการศึกษา และสถาบันศาสนาตามลำดับ ขณะที่กลุ่มคนวัยทำงานกลับมองว่า นอกจากสถาบันครอบครัวแล้วองค์กรธุรกิจต้องเข้ามาส่งเสริมคุณธรรมด้วย สำหรับกลุ่มอายุ 40-49 ปี มองครอบครัวมาเป็นอันดับ 1 องค์กรธุรกิจเป็นอันดับ 2 สถาบันการศึกษา อันดับ 3

“เมื่อตรวจสอบ ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันที่ทำหน้าที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมพบข้อมูลที่น่า สนใจว่า สถาบันการเมืองการปกครองทำหน้าที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่เด็กไทยน้อย ที่สุด นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างยังได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมด้วยว่า วิธีที่เหมาะสมที่สุดในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สู่เด็กและเยาวชนไทย คือ การที่ผู้ใหญ่ปฏิบัติตัวดีให้เด็กดูเป็นแบบอย่าง” ผู้อำนวยการศูนย์คุณธรรม กล่าว

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/16516]]
[img[http://www.thairath.co.th/media/content/2009/07/01/300/16700.jpg]]
อาจารย์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดลระบุคนรุ่นใหม่มีแนวโน้มแต่งงานลดลง สถิติการหย่าเพิ่มขึ้น 2 เท่า โดยปี 2550 ปีเดียวหย่าแล้ว 1 แสนคู่...

ผู้สื่อข่าวรายงานว่าวันนี้ (1 ก.ค.) ที่โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม หรือ วปส.  มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ มูลนิธิเครือข่ายครอบครัว และแผนงานสุขภาวะครอบครัว สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 ประชากร และสังคม 2552 เรื่อง “ครอบครัวไทย ในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านทางสังคมและประชากร” ขึ้น

ศ. นพ.วิจารณ์ พานิช นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวตอนหนึ่งระหว่างบรรยายในหัวข้อครอบครัวไทยในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านทาง สังคมและประชากร ว่า จากการศึกษาข้อมูลรายงานประชากรและสังคม 2552 ที่ วปส.จัดทำ พบข้อมูลน่าสนใจหลายประเด็น โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของครอบครัวไทยที่ครอบครัวพ่อ    หรือแม่เลี้ยงเดี่ยวมีแนวโน้มมากขึ้น รวมถึงครอบครัวเพศเดียวกันซึ่งสังคมไทยเปิดกว้างมากขึ้น ครอบครัว บุตรบุตรธรรม ครอบครัวผู้สูงอายุ ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและเด็ก ต่างมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังพบครอบ      ครัวที่เด็กกำพร้าอาศัยอยู่กันตามลำพังมีถึงร้อยละ 8 ของครอบครัวจากการสำรวจ ซึ่งมาจากการที่บิดามารดาเสียชีวิต ประเด็นนี้ควรศึกษาเชิงลึกว่าเด็กกำพร้าเหล่านี้อยู่กันอย่างไร

นายก สภามหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวต่อว่า ทิศทางการเปลี่ยนแปลงครอบครัวที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลกจะพบครอบ ครัวขยายลดลง มีเสรีในการเลือกคู่มากขึ้น รวมถึงสิทธิสตรี เสรีภาพทางเพศและสิทธิเด็กมีมากขึ้น ขณะที่ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นลดลง ส่วนพฤติกรรมครอบครัวจะพบการแต่งงานเมื่อสูงอายุขึ้น ครองโสดมากขึ้น รูปแบบการแต่งงานเปลี่ยนไป มีการแต่งงานข้ามพรมแดน สิ่งที่ควรจะเอาใจใส่ในทุกครอบครัวคือทำอย่างไรให้ครอบครัวมีความสัมพันธ์ ที่แน่นแฟ้นมากขึ้น

ด้านศ.ปราโมทย์ ประสาทกุล อาจารย์ประจำสถาบันวิจัยประชากรและสังคม กล่าวว่า จากสถิติการจดทะเบียนสมรสชี้ชัดว่าการแต่งงานของคนรุ่นใหม่มีแนวโน้มลดลง คนช่วงวันทำงาน 25-41 ปี เวลานี้ อยู่เป็นโสดมากกว่าคนรุ่นก่อนที่อายุประมาณ 73 ปีขึ้นไป และถ้าแต่งงานมีลูกน้อยกว่าคนรุ่นก่อนถึง 3 เท่าตัว ขณะที่ครอบครัวมีขนาดเล็กลงคือ อยู่คนเดียวหรืออยู่เฉพาะพ่อแม่ลูกมากขึ้น

อาจารย์ ประจำสถาบันวิจัยประชากรและสังคม กล่าวต่อว่า จากสถิติยังพบว่า ร้อยละ 12 ของครัวเรือนไทยยังยากจนมากที่สุดอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสูงถึงร้อยละ 23 และยังพบ 1.3 ล้านครอบครัวจากจำนวนทั้งหมด 20 ล้านครอบครัวเป็นครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว สาเหตุมาจากการสิ้นสุดชีวิตคู่ใน 4 รูปแบบคือ การละทิ้ง การแยกทาง การหย่าร้าง และการเสียชีวิตของคู่สมรส ซึ่งการหย่าร้างเป็นตัวชี้วัดหนึ่งของการเพิ่มขึ้นของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ดังสถิติการหย่าที่เพิ่มขึ้นถึง 2 เท่าจากประมาณเกือบ 5 หมื่นคู่ในปี 2536 เพิ่มเป็น 1 แสนคู่ในปี 2550 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงการไม่จดทะเบียนสมรสก็มีเพิ่มมากขึ้น

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/16700]]
เมื่อวิเคราะห์ลงลึกในระดับมาตรฐาน พบว่ามาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตลอดจนมาตรฐานด้านวิจัยและงานสร้างสรรค์นั้น มีสถาบันที่อยู่ในระดับดีมากค่อนข้างต่ำ ...

ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานรับรองและ ประเมินมาตรฐานการศึกษา (สมศ.) เปิดเผยผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ในสถาบันอุดมศึกษากลุ่ม 3 ซึ่งเน้นผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม จำนวน 15 แห่ง ผลการประเมินพบว่าสถาบันอุดมศึกษากลุ่ม 3 สามารถจัด การศึกษาได้มาตรฐานคุณภาพของ สมศ. 13 แห่ง รอพินิจ 2 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และมหาวิทยาลัยปทุมธานี สำหรับคุณภาพระดับสถาบัน ไม่มีสถาบันอุดมศึกษาใดอยู่ในระดับดีมาก และเมื่อวิเคราะห์ลงลึกในระดับมาตรฐาน พบว่ามาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตลอดจนมาตรฐานด้านวิจัยและงานสร้างสรรค์นั้น มีสถาบันที่อยู่ในระดับดีมากค่อนข้างต่ำ และหลักสูตรการเรียนการสอน การพัฒนาสถาบันไม่มีระดับดีมาก

ศ.ดร.สมหวังกล่าวอีกว่า ส่วนผลการประเมินสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มที่ 4 ซึ่งเน้นผลิตบัณฑิตจำนวน 63 แห่งว่า สามารถจัดการศึกษาได้มาตรฐานคุณภาพ ของ สมศ. 52 แห่ง รอพินิจ 6 แห่ง และไม่ได้มาตรฐานคุณภาพ สมศ. 5 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยชุมชน (วชช.) สมุทรสาคร วชช.ตราด วชช.กรุงเทพ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา และวิทยาลัยนครราชสีมา สำหรับคุณภาพระดับสถาบัน พบว่าระดับ ดีมากมี 4 แห่ง ระดับดี 55 แห่ง และระดับพอใช้ 4 แห่ง  อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์ลงลึกในระดับมาตรฐาน ของกลุ่มมหาวิทยาลัยทั่วไป พบว่า มาตรฐานระดับดีมาก ด้านคุณภาพบัณฑิตเพียง 12.20% ที่มาตรฐานสูงเป็นด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 65.85% ส่วนด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ไม่มีสถาบันอุดม- ศึกษาใดอยู่ในระดับดีมาก ขณะที่ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน มีเพียง 1 แห่งเท่านั้นที่อยู่ในระดับดีมาก ได้แก่วิทยาลัยมิชชัน.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/35322]]
นายกฯการันตี การปรับลดงบประมาณของรัฐบาลจะไม่กระทบกับนโยบายเรียนฟรี 15 ปี สั่งปรับลดค่าใช้ส่วนอื่นที่ไม่สำคัญ "จุรินทร์"วอนเห็นใจรัฐบาล ว่า ขณะนี้ อยู่ในภาวะ อย่างไร ...

นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.)วันนี้ (6 พ.ค.) ว่า ที่ประชุมได้พิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2553 ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการได้รับอนุมัติงบประมาณจำนวน 345,815 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ 2552 จำนวน 4,891 ล้านบาท โดยปีงบประมาณ 2552 กระทรวงศึกษาธิการได้รับงบประมาณจำนวน 350,556 ล้านบาท อย่างไรก็ตามงบประมาณที่ ครม.อนุมัติครั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการได้รับงบประมาณสูงสุดกว่าทุกกระทรวง หรือประมาณ 20 % ของงบประมาณทั้งหมด งบประมาณ 2553 แยกตามองค์กรหลักดังนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 38,812 ล้านบาท สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 218,317 ล้านบาท สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 18,270 ล้านบาท สำนักงานคณะกรรมการการอุมศึกษา 5,963 ล้านบาท และสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 245 ล้านบาท

รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวต่อว่า งบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการได้รับเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลให้ความ สำคัญกับการจัดการศึกษาอย่างมาก แม้ว่างบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ 2553 จะถูกปรับลดลงแต่ยืนยันว่าจะไม่กระทบกับนโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีเองก็รับทราบและเน้นว่าการปรับลดงบประมาณของรัฐบาลจะไม่ กระทบกับนโยบายดังกล่าวแต่ ให้ไปปรับลดค่าใช้ส่วนอื่นที่ไม่สำคัญ การ ปรับลดงบประมาณของรัฐบาลลงนั้นเป็นเรื่องที่ต้องเข้าใจว่าเราอยู่ในภาวะ อย่างไร ไม่ได้เป็นเฉพาะประเทศไทยเป็นกันทั่วโลก ช่วงนี้ทุกคนต้องช่วย กันและต้องเห็นใจรัฐบาลด้วยเพราะสภาวะเศรษฐกิจเป็นแบบนี้ไม่ได้เป็นเพราะ ประเทศไทยแต่เริ่มต้นจากสหรัฐอเมริกาและสถานทางการเมืองด้วย

นายจุริ นทร์ กล่าวด้วยว่า แม้กระทรวงศึกษาธิการจะถูกปรับลดงบประมาณ 2553 แต่ยังได้รับอนุมัติงบประมาณจากแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2 ประมาณ จำนวน 126,630 ล้านบาทมาชดเชยในอนาคต โดยโครงการดังกล่าวจะเริ่มดำเนินการปีงบประมาณ 2553 - 2555 กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอไปทั้งหมด10 โครงการได้แก่ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษา โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โครงการ พัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐาน โครงการพัฒนาคุณธรรมและสร้างสำนึกความเป็นไทยเพื่อพัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืน โครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน โครงการยกระดับคุณภาพอาชีวศึกษาสู่ความทันสมัย โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ โครงการปัจจัยสนับสนุนด้านการศึกษาและโครงการกิจกรรมขับเคลื่อนการปฏิรูปการ ศึกษา

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/4200]]
[img[http://www.thairath.co.th/media/content/2009/07/02/300/16805.jpg]]
นำข้อมูลที่ได้มาใช้วางแผนจัดสรรทุนวิจัยในอนาคต เพื่อให้หน่วยงานสามารถนำผลการประเมินไปกำหนดเป้าหมายและทิศทางการวิจัย...

ศ. ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ ผอ.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กล่าวเปิดการประชุมโครงการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ปี 2552 ว่า สกว.ต้องการทราบถึงปริมาณและคุณภาพของผลงานวิจัยเชิงวิชาการระดับสาขาวิชา ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการวางแผนและจัดสรรทุนวิจัยของ สกว.ในอนาคต และเพื่อให้หน่วยงานสามารถนำผลการประเมินไปกำหนดเป้าหมายและทิศทางการวิจัย ของตน ซึ่งขณะนี้ สกว.กำลังจัดหางบประมาณสนับสนุนหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการประเมินในครั้ง นี้

ศ.ดร.ปรีดา วิบูลย์สวัสดิ์ ประธานกรรมการติดตามประเมินผลการสนับสนุนการวิจัย สกว. กล่าวว่า การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยฯของ สกว.ใช้วิธีการประเมินระดับสาขาวิชาตามแนวทางของประเทศอังกฤษ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดสรรทุนวิจัยให้ตรงกับความถนัดในแต่ละสาขาวิชาที่ มีความหลากหลาย โดยมีคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการประเมินฯ ของ สกว. ซึ่งเชิญผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ร่วมเป็นกรรมการ โดยมีโครงการนำร่องในปี 2548 ซึ่งได้ผลดีเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/16805]]
จากการประชุมหารือเรื่องการนำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ หรือ ทีคิวเอฟ ไปสู่การปฏิบัติ โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้เชิญผู้คัดค้านมาให้ข้อมูล ที่โรงแรมสยามซิตี กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 10 มี.ค. 53 นั้น ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เปิดเผยว่า หลังจาก สกอ.ได้ประกาศกรอบ ทีคิวเอฟ ไปแล้วปรากฏว่ามีเสียงคัดค้านอย่างกว้างขวาง ซึ่งเจตนารมณ์ของการทำ ทีคิวเอฟ คือ เพิ่มความเชื่อมั่นในคุณภาพและมาตรฐานคุณวุฒิของบัณฑิต เพื่อให้มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตได้มาตรฐานขั้นต่ำสามารถเทียบเคียง  กับสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศได้ และคุณวุฒิมีความโปร่งใส แต่มหาวิทยาลัยกลับคิดว่า เป็นเครื่องมือที่ สกอ.ใช้บังคับมหาวิทยาลัย และหลายเรื่องลงรายละเอียดลึกเกินไป ซึ่งตนก็เห็นด้วยว่า ทีคิวเอฟ ควรเป็นกรอบกว้าง ๆ ที่แต่ละสาขาวิชาสามารถนำไปปรับให้เหมาะสมกับสาขาของตนเองเพื่อใช้    ร่วมกันทั้งประเทศได้
   
“หลังจากนี้ สกอ.ต้องไปปรับตัวชี้วัดและมาตรฐานที่ไม่เหมาะสมของ ทีคิวเอฟ โดยสิ่งที่ต้องกลับไปช่วยกันดู คือ หาทางทำให้ ทีคิวเอฟ อ่อนตัวลงในเชิงอำนาจ แต่มีพลังมากขึ้นในการเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการคุยกันเรื่องคุณภาพการ จัดการเรียนการสอน และบัณฑิตที่จะผลิตทั้งภายในมหาวิทยาลัยเดียวกัน และต่างมหาวิทยาลัยแต่อยู่ในสาขาวิชาเดียวกันโดยยึดที่คุณภาพมากขึ้น และทำให้เกิดประโยชน์ 3 เรื่องคือ 1.นักศึกษาสามารถเรียนในหลายมหาวิทยาลัย หรือเปลี่ยนมหาวิทยาลัยได้ทั้งในและต่างประเทศ โดยการเทียบโอนหน่วยกิต 2.ยึดโยงกับการทำงานโดยทำให้นายจ้างทราบว่าบัณฑิตมีทักษะในด้านใด และ 3.เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่จะทำให้ผู้ที่อยู่นอกระบบการศึกษาสามารถเทียบระดับความรู้ตนเองได้” ประธาน กกอ.กล่าว.

[[Source|http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=42&contentID=53399]]
สมศ.เผยผลการประเมินมหาวิทยาลัย รอบ 2 ไม่รับรอง 16 แห่ง จาก 202 แห่ง ประเภทมหาวิทยาลัยวิจัย คะแนนมหาวิทยาลัยเอกชนนำมหาวิทยาลัยรัฐ อย่างจุฬาฯ แนะควรเปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยเอกชนเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สาขายอดฮิต ทั้งมนุษยศาสตร์ บริหาร หลักสูตรไม่ผ่านเพียบ พบใน 29 มหาวิทยาลัยต้องมีอย่างน้อย 1 หลักสูตรที่ไม่ได้มาตรฐาน แนะปรับปรุงด่วนหวั่นกระทบปัญหาเรื่องคุณภาพบัณฑิต

 เมื่อวันที่ 8 กันยายน ที่อาคารพญาไท พลาซ่า ศ.เกียรติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ผู้ อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (องค์การมหาชน) แถลงข่าวผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2549-2551 ว่าจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ซึ่งประเมินมหาวิทยาลัยทั้งหมด 202 แห่ง พบว่า มีมหาวิทยาลัยที่ผ่านการประเมิน 186 แห่ง ไม่ผ่านการรับรอง มีทั้งหมด 16 แห่ง แบ่งเป็นไม่รับรอง 6 แห่ง และมหาวิทยาลัยที่รอพินิจ 10 แห่ง

  โดยแบ่งตามประเภทมหาวิทยาลัยออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่มเน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย จำนวน 23 แห่ง โดยผ่านระดับดีมาก 11แห่ง ได้แก่ ม.เทคโนโลยีมหานคร ได้ 4.86, ม.เทคโนโลยีสุรนารี 4.76, ม.อุบลราชธานี 4.70, ม.ธรรมศาสตร์ 4.67, ม.สงขลานครินทร์ 4.65, ม.ขอนแก่น 4.62, จุฬาฯ 4.62, ม.เกษตรศาสตร์ 4.57, ม.นเรศวร 4.56, ม.เชียงใหม่ 4.53, ม.มหิดล 4.53

 และระดับดี 12 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า 4.36, ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 4.35, ม.แม่โจ้ 4.34, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 4.33, ม.มหาสารคาม 4.27, ส.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 4.27, ม.ศรีนครินทรวิโรฒ 4.20, ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 4.19, ม.ศิลปากร 4.11, ม.ชินวัตร 3.86, ม.คริสเตียน 3.83, ม.บูรพา 3.80 โดยทั้ง 23 แห่งผ่านการรับรองมาตรฐานจาก สมศ.

 ศ.เกียรติคุณ ดร.สมหวัง กล่าวต่อว่า จากผลการประเมิน เป็นที่น่าสังเกตว่า ม.เทคโนโลยีมหานคร ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน กลับได้คะแนนในระดับดีมากในกลุ่มของมหาวิทยาลัยวิจัย ซึ่งแตกต่างจากมหาวิทยาลัยรัฐ หรือมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ อีกทั้ง ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ กลับอยู่ในระดับดี จึงอยากให้ รมว.ศึกษาธิการ ลองพิจารณาให้การสนับสนุนงบวิจัยกับมหาวิทยาลัยเอกชน เพื่อสร้างความเป็นธรรมและความเท่าเทียมในสังคม เพราะเอกชนลงทุนเพื่อการศึกษา ส่วนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งมีคะแนนสูงกว่ามหาวิทยาลัยเก่าชื่อดัง น่าจะเป็นเพราะเป็นมหาวิทยาลัยใหม่ บุคลากรเป็นคนหนุ่มสาวที่มีไฟ

 ส่วนมหาวิทยาลัยเก่า ก็อาจจะไม่ฟิตเท่า หรือมีไขมันมาก นอกจากนี้การขยายวิทยาเขตใหม่ๆ ก็เป็นตัวฉุดให้คะแนนของมหาวิทยาลัยเก่า เพราะเท่ากับเป็นการเริ่มต้นใหม่ อย่างเช่น ม.ศิลปากร และมศว เมื่อพิจารณาหลักสูตรและการเรียนการสอนระดับดีมาก 6 แห่ง ระดับดี 15 แห่ง และระดับพอใช้ 2 แห่ง โดยเฉพาะในส่วนของมศว ผลการประเมินของสมศ.ตรงกับการประเมินคุณภาพภายในของสำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) ที่อยู่ในระดับพอใช้เช่นกัน

 2.กลุ่มเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม มี 101 แห่ง พบว่า ได้รับการรับรอง 98 แห่ง รอพินิจ 2 แห่ง และไม่ผ่านการประเมิน 1 แห่ง โดยมหาวิทยาลัยที่ได้ในคะแนนระดับดีมาก มีเพียง 26 แห่ง ระดับดี 74 แห่ง และควรปรับปรุง 1 แห่ง 3.กลุ่มเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม มีทั้งหมด 15 แห่ง พบว่า ได้รับการรับรอง 13 แห่ง รอพินิจ 2 แห่ง และทั้ง 15 แห่ง ได้คะแนนประเมินในระดับดี 4.กลุ่มเน้นการผลิตบัณฑิต มี 63 แห่ง พบว่า ได้รับการรับรอง 52 แห่ง รอพินิจ 6 แห่ง และไม่รับรอง 5 แห่ง

 ทั้งนี้ หากแบ่งเป็นกลุ่มสาขาวิชา แบ่งเป็น 10 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2.กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ 3.กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ 4.กลุ่มสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5.กลุ่มสาขาเกษตรศาสตร์ 6.กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว และเศรษฐศาสตร์ 7.กลุ่มสาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 8.กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์ และประยุกต์ศิลป์ 9.กลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ10.กลุ่มสาขาวิชาสหวิทยาการ ซึ่งกลุ่มสาขาที่มีมหาวิทยาลัยเปิดสอนเยอะที่สุด คือกลุ่มที่ 6 สาขาบริหารธุรกิจฯ และเป็นกลุ่มที่สมศ.ไม่รับรองมากที่สุด ถึง 14 สาขา

  รองลงมา คือกลุ่มที่ 9 สาขามนุษยศาสตร์ฯ ไม่รับรอง14 สาขา จึงเป็นที่น่าสังเกตว่า กลุ่มสาขาที่สมศ.ไม่รับรองมีการเปิดการเรียนการสอนจำนวนมากในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หากมีการปรับปรุงหลักสูตรสาขาวิชา 3 กลุ่มสาขาที่ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน ได้แก่ 1.สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2.สาขาวิชาบริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว และเศรษฐศาสตร์ และ3.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ไม่งั้นจะกระทบต่อคุณภาพของบัณฑิตที่จบออกไปจากสถาบันดังกล่าว

 ผอ.สมศ.กล่าวอีกว่า รายละเอียดของผลการประเมินดังกล่าว สมศ.ได้ประกาศต่อสาธารณชนทางเว็บไซต์ของ สมศ. และสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งที่ได้รับการรับรองและไม่ได้รับการรับรองจากสมศ. ก็ยอมรับผลการประเมินของ สมศ. ทั้งนี้ในส่วนของสถาบันที่รอการพินิจ 10 แห่ง จะกลับไปปรับปรุงพัฒนาภายใน 6 เดือนถึง 1 ปี และเข้ารับการประเมินจาก สมศ.อีกครั้ง ส่วนที่ไม่ผ่านการรับรอง 6 แห่ง ได้เสนอสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้เข้าไปช่วยพัฒนาปรับปรุงอีก 2 ปี ซึ่งจะสามารถเข้ารับการประเมินอีกครั้งในรอบที่สาม ในปี 2554  ในส่วนขณะที่มหาวิทยาลัยใน 29 สถาบันอุดมศึกษา ใน 202 แห่ง ที่สมศ.ประเมินพบว่า มีอย่างน้อย 1 กลุ่มสาขาวิชาที่สมศ.ไม่รับรอง

 “ผลการประเมินมหาวิทยาลัยรอบ 2 หากเปรียบเทียบกับรอบแรกนั้นทางด้านงานวิจัย ถือว่ามหาวิทยาลัยยังไม่ได้มีการพัฒนาอย่างชัดเจน ในเรื่องการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาอยู่ในระดับดีขึ้นมาเล็กน้อย ประกันคุณภาพภายในดีขึ้นกว่าเดิม การทำนุบำรุงดีมากขึ้น ดังนั้น ทำให้เห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยส่วนใหญ่มีการพัฒนา แต่อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัย และทุกสาขาวิชาควรจะผ่านการรับรองจากสมศ.ทั้งหมด เพราะการประเมินของสมศ.นั้นใช้เกณฑ์ขั้นต่ำที่เหมาะสมกับแต่ละประเภท ของมหาวิทยาลัย” ศ.เกียรติคุณ ดร.สมหวังกล่าว
สภาพปัญหา

เพื่อให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมช่วยแก้ปัญหาการพัฒนาที่ขาด ความสมดุลคือเศรษฐกิจดีสังคมมีปัญหาการพัฒนาไม่ยั่งยืนและเพื่อก้าวไปสู่ วิสัยทัศน์การพัฒนาที่พึงปรารถนาในระยะยาว

วัตถุประสงค์

1.เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของคนทุกคนทั้งในด้านร่างกายจิตใจและสติปัญญาให้มี สุขภาพพลานามัยแข็งแรงมีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพและ สามารถปรับตัวให้ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและการ ปกครอง

2.เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมให้มีความมั่นคงและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของครอบครัวและชุมชนให้สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตคนรวมทั้งให้ ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศมากยิ่งขึ้น

3.เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพมั่นคงและ สมดุลเสริมสร้างโอกาสการพัฒนาศักยภาพของคนในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา และได้รับผลจากการพัฒนาที่เป็นธรรม

4.เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์และดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ มีความสมบูรณ์สามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและคุณภาพชีวิตได้อย่าง ยั่งยืน

5.เพื่อปรับระบบบริหารจัดการเปิดโอกาสให้องค์กรพัฒนาเอกชนาคเอกชนชุมชนและ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาประเทศมากขึ้น

เป้าหมาย

เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การพัฒนาข้างต้นเห็นสมควรกำหนดเป้าหมายซึ่งจะเป็น เครื่องชี้วัดผลการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์หลัก ในระยะของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 ไว้ดังนี้

1.เพิ่มปริมาณการเตรียมความพร้อมทุกด้านของเด็กปฐมวัย 0-15 ปีอย่างมีคุณภาพ

2เพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับโดยเฉพาะการขยายการศึกษาขั้นพื้นฐาน9ปี แก่เด็กในวัยเรียนทุกคนการเตรียมการขยายโอกาสทางการศึกษาเป็น 12 ปีและการฝึกอบรมครูอาจารย์ทุกคนอย่างต่อเนื่อง

3.ยกระดับทักษะฝีมือและความรู้พื้นฐานให้แก่แรงงานในสถานประกอบการโดยให้ ความสำคัญเป็นลำดับแรกต่อกลุ่มแรงงานอายุ 25-45 ปี

4.ให้ผู้ด้อยโอกาสทุกประเภทได้รับโอกาสการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและได้รับบริการพื้นฐานทางสังคมอย่างมีคุณภาพ และทั่วถึง

5.ลดอัตราการประสบภัยอันตรายจากการทำงานและลดจำนวนการเกิดอุบัติเหตุต่างๆ โดยเฉพาะการจราจรการขนส่งวัตถุเคมีอันตรายและอัคคีภัยในอาคารสูง

6.รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจไทยโดยลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดให้อยู่ใน ระดับร้อยละ3.4 ของผลผลิตรวมในปีสุดท้ายของแผนพัฒนาฯฉบับที่8และรักษาอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ ในระดับที่เหมาะสมเฉลี่ยร้อยละ4.5ต่อปี

7.ระดมการออมของภาคครัวเรือนให้เพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อยร้อยละ10ของผลผลิตรวมในปีสุดท้ายของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่8

8.ขยายปริมาณและเพิ่มคุณภาพของบริการโครงสร้างพื้นฐานสู่ภูมิภาคและชนบท

9.ลดสัดส่วนคนยากจนของประเทศให้น้อยกว่าร้อยละ10ในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่8

10.อนุรักษ์และฟื้นฟูบูรณะพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ไว้ให้ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ25ของพื้นที่ของประเทศรวมทั้งรักษาพื้นที่ป่าชายเลนให้คงไว้ไม่ต่ำ กว่า1ล้านไร่ในปีสุดท้ายของแผนพัฒนาฯฉบับที่8

11.สร้างโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพเกษตรในรูปแบบของเกษตรธรรมชาติเกษตรอินทรีย์เกษตรผสมผสานและวนเกษตร

12.เพิ่มการลงทุนในการควบคุมและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในเมืองภูมิภาคและชนบท

ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

เพื่อให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนาดังกล่าวเห็นควรกำหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาของแผนพัฒนาฯฉบับที่8ที่สำคัญดังนี้

1.การพัฒนาศักยภาพของคนส่งเสริมให้ประเทศมีโครงสร้างประชากรที่เหมาะสม ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ด้านการพัฒนาจิตใจให้เกิดผลในทางปฏิบัติการพัฒนา สติปัญญาและทักษะฝีมือแรงงานให้คนไทยทุกคนมีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงรวมทั้ง การพัฒนาสุขภาพและพลานามัยให้คนไทยมีสุขภาพดีถ้วนหน้า

2.การพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมให้เอื้อต่อการพัฒนาคนเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของครอบครัวของชุมชนการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและ สังคมการพัฒนาระบบความมั่นคงทางสังคมเพื่อสร้างหลักประกันต่างๆแก่ประชาชน การเสริมสร้างขีดความสามารถในระบบอำนวยความยุติธรรมและระบบความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สินให้แก่ประชาชน

3.การเสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาของภูมิภาคและชนบทเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนอย่างทั่วถึงการกระจายโอกาสและความเจริญด้วยการพัฒนาพื้นที่ใน ภูมิภาคการเพิ่มศักยภาพขององค์กรชุมชนการส่งเสริมบทบาทของภาคธุรกิจเอกชน และองค์กรพัฒนาเอกชน การกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และบริการทางสังคม

4.การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและคุณภาพชีวิตได้แก่ การเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพการ ปรับโครงสร้างการผลิตให้เข้มแข็งเพื่อให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดโลก และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเพื่อเป็นฐานของ การพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดจนการพัฒนาพื้นที่ชุมชนและบริการโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับคุณภาพชีวิต

5.การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แก่การบริหารจัดการเพื่อ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้มีความสมบูรณ์เกิดความสมดุลต่อระบบ นิเวศวิทยาการดูแลรักษาสภาวะแวดล้อมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและ เป็นฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาวการจัดระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้เกิดการใช้ประโยชน์และควบคุมดูแลอย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้ง การบริหารจัดการเพื่อป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากธรรมชาติ

6.การพัฒนาประชารัฐเป็นการพัฒนาภาครัฐให้มีสมรรถนะและพันธกิจหลักในการ เสริมสร้างศักยภาพและสมรรถนะของคนทำให้คนในสังคมเป็นพันธมิตรกับเจ้าหน้าที่ ของรัฐและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศซึ่งประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาเพื่อ เสริมสร้างหลักนิติธรรมในการบริหารรัฐกิจการจัดการแก้ไขความขัดแย้งในสังคม ด้วยสันติวิธีสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมสาธารณะของภาครัฐการ ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ

7.การบริหารจัดการเพื่อให้มีการทำแผนพัฒนาฯไปดำเนินการให้เกิดผลในทาง ปฏิบัติได้แก่การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติด้วยระบบการจัดการในระดับพื้นที่ตาม ภารกิจของหน่วยราชการและการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายในสังคมการพัฒนากลไกของรัฐ ในการปฏิบัติงานการเร่งรัดพัฒนาระบบกฎหมายการเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงาน กลางในการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ

[[Source|http://www.fisheries.go.th/dof_thai/Division/Planning/]]
รายงานข่าวจากหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์ระบุ ว่า Amazon มีแผนที่จะแนะนำ Kindle เครื่องอ่านอีบุ๊กรุ่นใหม่ในสัปดาห์หน้า โดยจะเป็นรุ่นที่มีหน้าจอใหญ่กว่าเดิม เพื่อใช้สำหรับการอ่านนิตยสาร และหนังสือพิมพ์ ซึ่งหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ยังยกให้มันเป็นนวตกรรมที่จะมาช่วยต่อชีวิตให้กับ อุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์กันเลยทีเดียว

ทั้งนี้นิวยอร์กไทมส์ยังได้ ตกลงเป็นหนึ่งในพันธมิตรรายแรกๆ ที่จะเผยแพร่สิ่งพิมพ์ของตนเองบนเครื่องอ่านอีบุ๊กรุ่นใหม่ของ Amazon ด้วย ซึ่งในเวลาไล่เรี่ยกัน หนังสือพิมพ์วอลสตรีทเจอนัลก็ได้เผยแพร่ข่าวของคู่แข่ง และจุดอ่อนของเครื่องอ่านอีบุ๊กของ Amazon นั่นหมายความว่า มันจะมีอุปกรณ์ประเภทนี้ออกมามากมาย ทำให้หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้น และช่วยให้อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ข่าวสารสามารถยืนหยัดต่อไปได้
[img[http://www.arip.co.th/images/news/amazon/kindle-newspaper-magazine-2.jpg]]
เครื่อง อ่านอิเล็กทรอนิกส์เป็นสิ่งที่บรรดาหนังสือพิมพ์ทราบดีว่า อย่างไรก็ต้องเดินต่อไปในทางนี้ เนื่องจากกระดาษไม่ใช่คำตอบสำหรับการดำเนินธุรกิจ แม้ผู้คนส่วนใหญ่จะชอบการพลิกหน้าหนังสือที่เป็นกระดาษก็ตาม ในขณะที่โลกออนไลน์ มันเป็นเรื่องของโฆษณา แต่สำนักพิมพ์ส่วนใหญ่คุ้นเคยกับการมีรายได้จากสมาชิกด้วย ดังนั้น เครื่องอ่านอีบุ๊กอย่าง Kindle จะตอบโจทย์การรับสมัครสมาชิกหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ดีกว่าออนไลน์ ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่ไม่เคยคิดว่าจะต้องมีค่าใช้จ่ายสำหรับการอ่านคอนเท็นต์บนนั้น และจะรู้สึกไม่พอใจที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อจะได้อ่านแมกะซีนออนไลน์

อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญในวงการบางท่านแสดงความเห็นต่อเรื่องนี้ว่า มันอาจจะเร็วเกินไป หรือไม่ที่จะเปลียนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคด้วยอุปกรณ์พาพาดังกล่าว เพราะความจริง Kindle เป็นเครื่องอ่านอีบุ๊กที่ออกมาขัดตาทัพเทคโนโลยีอีเปเปอร์แบบม้วนได้ ซึ่งให้ความสะดวกในการพกพามากกว่า ในขณะเดียวกันยังใกล้เคียงกับสื่อแบบเดิมอีกด้วย แต่ถ้าจะรอให้ถึงวันนั้น บางทีมันอาจจะสายเกินไป งานนี้คงต้องรอดูว่า ความหวังของบรรดาหนังสือพิมพ์จะเป็นจริง หรือไม่? ผู้บริโภคจะยอมรับกับอุปกรณ์พกพาที่ออกมาทดแทนความคุ้นเคยเดิมๆ ได้ หรือเปล่า?

[[Source|http://www.arip.co.th/news.php?id=408923]]
มกค. ระบุ หากรัฐต้องการหนุนงานวิจัยของชาติ ควรร่วมกับ สกว. ให้จัดสรรงบฯกระจายไปยังมหาวิทยาลัยที่เหมาะสม ไม่ใช่ให้งบฯกับมหาวิทยาลัยทั้ง 9 แห่ง ซึ่งอาจทำให้เสียงบฯไปโดยเปล่าประโยชน์. …

รศ.ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มกค.) กล่าวว่า ตามที่รัฐบาลจัดสรรงบประมาณให้มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ 9 แห่ง วงเงิน 9,000 ล้านบาท ระยะเวลา 3 ปีนั้น ตนไม่เห็นด้วย เพราะจะทำให้มหาวิทยาลัยทั้ง 9 แห่ง ก้าวหน้าหนีมหาวิทยาลัยอื่นๆ และมหาวิทยาลัยทั้ง 9 แห่ง ก็ยังมีบางสาขาวิชาที่ไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร การแบ่งประเภทมหาวิทยาลัยเป็นสิ่งดี แต่ควรแบ่งตามสาขาวิชาด้วย เพื่อให้มหาวิทยาลัยที่มีความรู้ในสาขานั้นๆ ได้พัฒนางานวิจัยอย่างเต็มที่ และการแบ่งประเภทมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติก็ไม่มีการประกาศเกณฑ์ที่ชัดเจน ทำให้ มหาวิทยาลัยหลายแห่งที่มีความพร้อมพลาดโอกาส หากรัฐบาลต้องการสนับสนุนงานวิจัยของชาติ ควรร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) โดยจัดสรรงบฯให้ สกว. เพื่อกระจายไปยังมหาวิทยาลัยที่เหมาะสม ไม่ใช่ให้งบฯกับมหาวิทยาลัยทั้ง 9 แห่ง ซึ่งอาจทำให้เสียงบฯไปโดยเปล่าประโยชน์.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/35089]]
[img[http://thai.tourismthailand.org/ajaxengine/upload/mod_attraction/48/html_library/Chanthaburi/attrac/khaochamoa.jpg]]
เป็นแหล่งกำเนิดของลำน้ำประแสร์ แม่น้ำสายหลักของจังหวัดระยอง มีพื้นที่ 83.68 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมกิ่งอำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง และ อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจของอุทยานฯ ในเขตจันทบุรี ได้แก่
 ถ้ำเขาวง อยู่บ้านเขาวงกต ลักษณะภูมิประเทศมีทั้งเขาหินปูน และป่าดงดิบ พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่ต้นจันทน์ผาซึ่งปัจจุบันนี้นับเป็นไม้ที่มีค่าทาง เศรษฐกิจมาก สัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ที่นี่ คือ เลียงผาจุดเด่นของที่นี่คือมีการสำรวจพบถ้ำถึง 80 กว่าแห่ง ถ้ำที่เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวมีประมาณ 20 ถ้ำ แบ่งเป็น 3 โซน ถ้ำทั้งหมดมีทางเชื่อมถึงกัน ใช้เวลาเพียงวันเดียวก็เที่ยวทั่ว สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่นำทางได้จากหน่วยพิทักษ์อุทยานที่เขาวง การเข้าชมถ้ำควรนำไฟฉายติดตัวไปด้วยเนื่องจากในถ้ำไม่มีแสงสว่างบางถ้ำมี ประวัติที่พิสดาร เช่น “ถ้ำโรงบ่อน” เมื่อสมัยก่อนประกาศเป็นอุทยานฯ พ.ศ. 2518 ชาวบ้านมักจะแอบมาเล่นการพนันที่นี่เพราะลับตาตำรวจ บางถ้ำกว่าจะถึง ระหว่างทางที่เดินไปทำให้เราได้สัมผัสธรรมชาติจริงๆ เช่น “ถ้ำลอด” ต้องลุยน้ำปริ่มเข่าเข้าไปจนถึง จุดเด่นของถ้ำคือ น้ำที่ไหลลงมาจากผาเหมือนน้ำตกน้อยๆในถ้ำ “ถ้ำชุมแสง” จะสวยงามมากเมื่อต้องแสงอาทิตย์ยามบ่าย ยังมี”ถ้ำละคร”ซึ่งมีค้างคาวอาศัยอยู่มากจนชาวบ้านบางครั้งยังขึ้นมาขุดขี้ ค้างคาวไปใช้เป็นปุ๋ยใส่ต้นเงาะ ทุเรียนในสวน แต่เนื่องจากถ้ำละครอยู่ใกล้จึงมีคนมาเที่ยวมาก ถ้ำจึงทรุดโทรม นักท่องเที่ยวบางคนชอบหักหินงอกหินย้อยเล่น ผนังถ้ำจึงเป็นรอยอยู่ทั่วไป โดยที่ไม่ทราบว่าคราบเหงื่อ หรือไขมันที่ผิวหนังจะทำให้แคลเซียมคาร์บอเนตหรือแคลไซต์ไม่สามารถเชื่อมติด กันได้ ฉะนั้นเพียงเราสัมผัสเบาๆที่หินงอกหินย้อยนั้นก็อาจทำให้มันไม่สามารถเจริญ เติบโตต่อไปได้อีก หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือตายไปนั่นเอง
ลักษณะภูมิอากาศของอุทยานฯ ในฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม จะมีฝนตกชุก ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยปีละ 3,000 มิลลิเมตร ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ อากาศเย็นสบาย และฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 26-27 องศาเซลเซียส เดินทางไปตามเส้นทางระยอง-จันทบุรี ก่อนถึงตัวเมืองจันท์ราว 40 กิโลเมตร แยกซ้ายจากถนนสุขุมวิทที่ กม. 288 เข้าทางหลวงหมายเลข 3344 บริเวณตลาดนายายอามเป็นระยะทาง 15 กิโลเมตร
       อัตราค่าเข้าอุทยานฯ  นักท่องเที่ยว ชาวไทย ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 200 บาท เด็ก 100 บาท
       สถานที่พัก  อุทยานฯ มีบริการ บ้านพัก ไว้สำหรับนักท่องเที่ยว จำนวน 6 หลัง พักได้ 4-7 คน ราคา 800-1,600 บาท ค่ายพักแรม พักได้ 30 คน ราคา 3,000 บาท และมีเต็นท์ให้เช่า พักได้ 2-4 คน ราคา 150-500 บาท ในกรณีที่นำเต็นท์มาเองเสียค่าพื้นที่กางเต็นท์ ราคา 30 บาท/คน/คืน
สอบถามรายละเอียดได้ที่ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง โทร. 03889 4378 หรือกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช โทร. 0 2562 0760 หรือ http://www.dnp.go.th

[[Source|http://thai.tourismthailand.org/attraction/chanthaburi-22-946-1.html]]
[img[http://www.thairath.co.th/media/content/2009/07/01/300/16738.jpg]]
รองลงมาคือ รามคำแหง-เกษตรศาสตร์ ขณะที่หอพักด้านหลัง ม.ราชภัฏจันทรเกษม หัวใสดัดแปลงชั้นล่างหอพักเป็นผับให้นักศึกษา เที่ยว แฉ "เหล้าปั่น" เครื่องดื่มสุดฮิตวัยโจ๋.. 

วันนี้ (1 ก.ค.) ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มีการแถลงข่าวมาตรการควบคุมการจำหน่ายเหล้าปั่น และร้านเหล้ารอบสถานศึกษา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และศูนย์วิจัยปัญหาสุรา โดยนางภัทรภร พลพนาธรรม กรรมการบริหารโครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กล่าวว่า จากการลงพื้นที่สำรวจการกระจายตัวของจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์โดย สุ่มสำรวจรอบมหาวิทยาลัย 15 แห่งใน กทม.และปริมณฑล พบว่า มีร้านค้าขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์โดยรอบมหาวิทยาลัยในรัศมี 500 เมตร ของมหาวิทยาลัยทั้ง 15 แห่ง จำนวน 1,712 ร้าน  

นางภัทรภร กล่าวต่อว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีจำนวนร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์โดยรอบในรัศมี 500 เมตร มากที่สุด 407 ร้าน อันดับ 2 คือ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 164 ร้าน อันดับ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 129 ร้าน ทั้งนี้ ร้อยละ 93 ของมหาวิทยาลัยที่ทำการสำรวจจะมีร้านขายเหล้าปั่น และร้อยละ 87 จะมีร้านเหล้าปั่นอยู่ในรัศมี 200 เมตรจากมหาวิทยาลัย ซึ่งพบว่ามหาวิทยาลัยรามคำแหงมีร้านเหล้าปั่นมากที่สุด 16 ร้าน และพบว่า 2 ใน 3 ของสถานศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาใน กทม. หรือจำนวน 118 แห่ง มีร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์อยู่ใกล้ไม่เกิน 100 เมตร และยังพบข้อมูลที่น่าสนใจอีกคือ หอพักโดยรอบของมหาวิทยาลัยทั้ง 15 แห่ง มีหอพักถึง 668 แห่ง ที่จะมีร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์อยู่ในรัศมี 100 เมตร และร้อยละ 90 ของหอพัก จะมีร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์อยู่ด้านล่างหอพัก โดยพบที่มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมากที่สุด คือ 46 แห่ง  

นอกจาก นี้ นางภัทรภร ยังเผยด้วยว่า ที่ด้านหลังของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีหอพักที่ชั้นบนใช้ เป็นที่พักของนักศึกษา แต่ด้านล่างกลับมีการเปิดเป็นผับให้นักศึกษาเที่ยวด้วย  

ด้าน น.ส.มาลีวรรณ ศุขวัฒน์ นิสิตปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า จากการศึกษา "รูปแบบการสื่อสารและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดื่มเหล้าของวัยรุ่น"  พบว่า ปัจจัยที่ทำให้ดื่มเหล้าปั่นคือ 1. อยากลอง 2. ราคาต่ำ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาก็รวมกลุ่มกันดื่มได้ 3. หาซื้อได้ง่าย 4. บรรยากาศของร้านดี และยังมีการเรียกเหล้าปั่นด้วยว่าเป็นเครื่องดื่มของพวก "หัวเกรียน" คือ พวกนักเรียนมัธยมศึกษา ซึ่งบางร้านก็เปิดให้นักเรียนมัธยมฯ เข้าร้านโดยไม่ได้ตรวจบัตรประชาชนด้วย 

ขณะที่ น.ส.กนิษฐา ไทยกล้า นักวิจัยจากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า จากการสำรวจร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในเขตเทศบาลเมือง ช่วงเดือน ก.พ. 51 – ม.ค. 2552 พบว่าช่วง 1 ปี มีร้านขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้น 59% จาก 682 ร้าน เป็น 1,083 ร้าน ในจำนวนนี้มีร้านเหล้าปั่นเพิ่มขึ้นจาก 15 ร้าน เป็น 47 ร้าน และสิ่งที่น่าห่วงคือ มีรูปแบบการดื่มเหล้าที่ง่ายขึ้น ทั้งการใส่ถุงเหมือนเป็นน้ำอัดลมหรือโอเลี้ยง และมีสูตรการดื่มที่หลากหลาย เช่น สูตรเหล้าป๊อก คือ นำน้ำหวานผสมเหล้าใส่แก้วเป๊กบีบมะนาวและโรยเกลือ แล้วต้องเคาะแก้วก่อนที่จะดื่ม หรือจะเป็น “เหล้าถัง” ซึ่งกำลังนิยมมากในเชียงใหม่ คือการดื่มเหล้าผสมเครื่องดื่มชูกำลัง น้ำอัดลม แล้วนำมาใส่ลงในถังน้ำขนาดเล็ก ซึ่งสามารถดื่มกันได้หลายคน  

ผู้สื่อข่าว รายงานว่า ช่วงเย็นวันเดียวกันที่กระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนมูลนิธิเพื่อนเยาวชนเพื่อการพัฒนา และคณะทำงานเครือข่ายเยาวชนป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ นำโดย นายคำรณ ชูเดชา ผอ.มูลนิธิเพื่อนเยาวชนเพื่อการพัฒนา ได้เข้ายื่นหนังสือต่อนายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเรียกร้องให้กำหนดมาตรการทางนโยบายป้องกันไม่ให้เยาวชนเข้ามาเป็นนัก ดื่มหน้าใหม่ และทำให้สถานศึกษาปลอดจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมทั้งรณรงค์การบังคับใช้กฎหมายห้ามขายเหล้าในหอพัก และขายให้เยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี รวมถึงให้สถานศึกษาเป็นเขตปลอดเครื่องแอลกอฮอล์ ผลักดันให้มีการโซนนิ่งโดยรอบสถานศึกษา 500 เมตร เป็นพื้นที่สีขาว

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/16738]]
สกอ.เดินหน้ากำหนดมาตรฐานบัณฑิตต้องเป็นคนดี มีคุณธรรม เร่งมหาวิทยาลัยปรับหลักสูตรให้ได้ตามกรอบมาตรฐานระดับชาติ 5 ข้อ หลังกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ มีผลบังคับใช้ 1 ก.ย.ที่ผ่านมา....

นาย สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กล่าวบรรยายพิเศษเรื่องเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ในแนวคิดของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ในการประชุมสัมมนาเพื่อติดตามผลการดำเนินงานเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยตอนหนึ่งว่า สกอ.ได้ยกร่างโครงการพัฒนาบัณฑิตในอุดมคติขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 โดยยึดหลักว่าหากต้องการได้บัณฑิตที่จบออกมาเป็นคนดี มีคุณธรรมมหาวิทยาลัยต้องสอน ต้องฝึกและต้องพัฒนา ดังนั้นบัณฑิตอุดมคติถือเป็นโจทย์สำคัญของการพัฒนาประเทศสอดคล้องกับนโยบาย 3 ดี ของนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ที่เน้นสร้างจิตสำนึกของบัณฑิตให้มีคุณธรรมจริยธรรมและบัณฑิตที่ห่างไกลจาก ยาเสพติด

“ที่สำคัญขณะนี้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของ ประเทศไทยมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 1 ก.ย.ที่ผ่านมา  ดังนั้น หลักสูตรใหม่ที่จะขออนุมัติเปิดหลักสูตรตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 จะต้องได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ส่วนหลักสูตรที่มีอยู่แล้วจะต้องปรับปรุงและพัฒนาให้ได้มาตรฐานภายในปี 2555 โดยหลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ หมายความว่าต่อไปนี้การพัฒนาบัณฑิตในมหาวิทยาลัยไม่ว่าจะเป็นระดับ ป.ตรี โทและเอก จะต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานคุณภาพระดับชาติ มหาวิทยาลัยต้องมองไปที่ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ของบัณฑิตเป็นตัวตั้ง” นายสุเมธกล่าว

นายสุเมธ กล่าวอีกว่า มหาวิทยาลัยต้องเริ่มคิดโดยนำกรอบมาตรฐานระดับชาติ ทั้ง 5 ข้อได้แก่ 1.การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม โดยทุกหลักสูตรจะต้องมีการกำหนดที่ชัดเจนว่าบัณฑิตที่จบออกไปแล้วจะต้องมี คุณธรรมทางด้านใดบ้าง 2.ความรู้ บัณฑิตที่จบไปต้องมีความรู้ในศาสตร์วิชานั้น ๆ 3.ทักษะทางปัญญาความสามารถของบัณฑิตที่จะนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน 4.ทักษะทางสังคม บัณฑิตจะต้องสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และ 5 .ทักษะทางด้านเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยจะต้องนำกรอบระดับชาติทั้ง 5 ข้อนี้มาเป็นตัวตั้งทั้งเรื่องการกำหนดหลักสูตรและวิธีการจัดการเรียนการสอน ร่วมถึงการบ่มเพาะคุณธรรมจริยธรรม ที่สาขาต่าง ๆ ต้องระบุให้ชัดเจนว่าอะไรคือคุณธรรมและอะไรคือจริยธรรม ไม่ใช่เน้นสอนเพื่อให้ความรู้เพียงอย่างเดียว ขณะนี้ สกอ.ตระเวนไปตามจังหวัดต่าง ๆ เพื่อเชิญเครือข่ายผู้บริหารมาเรียนรู้วิธีการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้มหาวิทยาลัยเข้าใจว่าการพัฒนาหลักสูตรให้ได้มาตรฐานต้องทำอย่างไร และหลังจากนี้จะจัดส่งวิทยากรลงไปช่วยมหาวิทยาลัยในการดำเนินการพัฒนา มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/35094]]
          เสียงสะท้อน"ผลประเมิน สมศ." "ขัดใจ"...มหา"ลัย-"ขัดความรู้สึก"...มหาชน!!
          กลาย เป็นประเด็นร้อนๆ ขึ้นมา เมื่ออธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) "รศ.วุฒิชัย กปิลกาญจน์" อดรนทนไม่ได้กับ "วิธีการประเมิน" ของ "สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)" ที่ทำให้ มก. พลาดผลการประเมินในระดับ "ดีมาก" ในกลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ในกลุ่มที่ 1
          ทั้งๆ ที่ มก. เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ และเปิดสอนหลักสูตรด้านการเกษตร เป็นแห่งแรกของประเทศไทย
          โดยก่อนหน้านี้ สมศ. ได้ประกาศ "ผลประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ระดับอุดมศึกษา" โดยภาพรวมไปแล้ว
          จาก การเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ของสถาบันอุดมศึกษากลุ่ม 1 ซึ่งเน้น "การผลิตบัณฑิตและวิจัย" 23 แห่ง ของ สมศ. ครั้งล่าสุด มีมหาวิทยาลัยที่มีผลประเมินระดับ "ดีมาก" ในระดับกลุ่มสาขาวิชาต่างๆ ดังนี้ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.), มหาวิทยาลัยนเรศวร (มน.), มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
          กลุ่มสาขา วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ได้แก่ มธ., มข., มอ., จุฬาฯ, มหาวิทยาลัยมหิดล (มม.), และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
          กลุ่ม สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (มอบ.), จุฬาฯ, มอ., มข. และมหาวิทยาลัยศิลปากร (มศก.)
          กลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ได้แก่ มอบ., มข., มน. และ มอ.
          กลุ่มสาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)
          กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้แก่ มก.
          กลุ่มสาขาวิชาสหวิทยาการ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และจุฬาฯ
          ส่วน กลุ่มสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์, กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจ, กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ ไม่มีสถาบันอุดมศึกษาใดมีผลประเมินระดับดีมาก
          ซึ่งกลุ่มหลัง "ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์" รักษาการผู้อำนวยการ สมศ. ตั้งข้อสังเกตว่า ที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษาใดมีประเมินระดับดีมาก ทั้งที่เป็นกลุ่มสาขายอดนิยมที่มีผู้เรียนจำนวนมาก และสถาบันอุดมศึกษาก็นิยมเปิดสอน เลยทำให้คุณภาพน้อยลง เพราะอาจารย์ที่เชี่ยวชาญมีจำกัด
          ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ ประเมินภายนอกครั้งนี้ ถูกสะท้อนกลับไปยัง สมศ. ค่อนข้างแรง เนื่องจากผลการประเมินของมหาวิทยาลัยหลายแห่งที่ออกมา ไม่ตรงกับความชำนาญ หรือความเชี่ยวชาญที่สถาบันนั้นๆ มีอยู่ เพราะหลายๆ มหาวิทยาลัยที่ได้รับผลการประเมินในระดับดีมากในบางกลุ่มสาขาวิชา กลับไม่ใช่กลุ่มสาขาวิชาที่เป็น "ต้นกำเนิด" ของสถาบันนั้นๆ
          อย่าง มก. ได้ระดับดีมากในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ แทนที่จะเป็นกลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ในขณะที่ มธ. ถูกประเมินระดับดีมากในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ทั้งที่เพิ่งเปิดสอนได้ไม่นาน แต่กลุ่มสาขาวิชาที่เป็นต้นกำเนิดอย่างสาขาวิชานิติศาสตร์ หรือสาขาวิชานิเทศศาสตร์ กลับไม่ได้ระดับดีมาก หรือ มศก. ถูกประเมินให้ได้ระดับดีมากในกลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ แต่ในกลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ ซึ่งเป็นสาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ กลับไม่ได้ระดับดีมาก
          เช่นเดียวกับจุฬาฯ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) ที่ไม่ได้ระดับดีมากในกลุ่มสาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ แต่มหาวิทยาลัยที่ถูกประเมินได้ระดับดีมาก กลับเป็นมหาวิทยาลัยน้องใหม่ที่ยกฐานะจากวิทยาเขตของ มศว. อย่าง มมส.
          หรือ แม้แต่ มม. ซึ่งมีโรงเรียนแพทย์อยู่ในสังกัดถึง 2 แห่ง คือ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี แต่กลับไม่ได้ระดับดีมากในการประเมินในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
          ผลการประเมินเหล่านี้ จึงนอกจากจะ "ขัดใจ" ประชาคมมหาวิทยาลัยแล้ว ยัง "ขัดความรู้สึก" ของสาธารณชนอย่างรุนแรง
          ซึ่ง รศ.วุฒิชัย ระบุถึงสาเหตุที่ทำให้ผลการประเมินออกมาเป็นเช่นนี้ เป็นเพราะ สมศ. ประเมินโดยใช้ข้อมูลตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 นอกจากนี้ ยังมองว่าสิ่งที่เป็น "จุดพลาด" ของ สมศ. อีกประการคือ "การแบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยตามอายุการก่อตั้ง" อย่าง มก. มี 4 วิทยาเขต แต่ละวิทยาเขตมีอายุก่อตั้งต่างกัน เช่น วิทยาเขตบางเขน ตั้งมากว่า 60 ปี วิทยาเขตกำแพงแสน 30 ปี ขณะที่วิทยาเขตสกลนคร เพิ่งตั้งได้ไม่นาน เป็นต้น และการขยายวิทยาเขตก็เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังพื้นที่ที่ยังไม่มี สถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น ผลการดำเนินงานของแต่ละวิทยาเขตย่อมแตกต่างกัน แทนที่ สมศ. จะประเมินแยกรายวิทยาเขต กลับนำคะแนนของทุกวิทยาเขตมารวมกัน ทำให้คะแนนรวมของ มก. ต่ำลง ผลประเมินจึงออกมา "ไม่ดี" เท่าที่ควร
          พร้อมเสนอว่า สมศ. ควรจะประเมินโดยการจัดกลุ่มตามอายุการจัดตั้งมหาวิทยาลัย
          เช่น เดียวกับ "ศ.สุรพล นิติไกรพจน์" อธิการบดี มธ. ที่บอกว่าภาพรวมของการประเมินภายนอกของ สมศ. นั้น มธ. ได้ระดับดีมาก แต่เมื่อแยกตามกลุ่มสาขาวิชาแล้ว กลับไม่ได้ระดับดีมาก โดยเฉพาะในกลุ่มสาขาวิชาที่เป็นต้นกำเนิด ซึ่งเป็นเพราะมหาวิทยาลัยเปิดคณะใหม่ๆ ทำให้คะแนนเฉลี่ยต่ำลง
          อธิการบดี มธ. ยังเสนอให้ สมศ. แยกกลุ่มประเมินระหว่าง "มหาวิทยาลัยรัฐ" และ "มหาวิทยาลัยเอกชน" เพราะพันธกิจของมหาวิทยาลัยรัฐ และเอกชนต่างกัน เนื่องจากมหาวิทยาลัยรัฐมีพันธกิจในการบริการสาธารณะ ฉะนั้น เมื่อประเมินโดยการนำคะแนนแต่ละด้านมารวมกันแล้ว มหาวิทยาลัยรัฐจึงได้คะแนนต่ำกว่ามหาวิทยาลัยเอกชน
          ปิดท้ายที่ "ศ.วิรุณ ตั้งเจริญ" อธิการบดี มศว. ที่ระบุว่า หลายครั้งที่ สมศ. ส่งคนที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจมาประเมินมหาวิทยาลัย แต่ประชาคมมหาวิทยาลัยไม่ได้ทักท้วงเพราะให้เกียรติ สมศ. แต่ขณะเดียวกัน สมศ. กลับไม่ให้เกียรติมหาวิทยาลัยเท่าที่ควร และมักกล่าวตำหนิการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย
          นอกจากนี้ ยังตั้งข้อสังเกตว่ามีเบื้องหน้าเบื้องหลังในการให้ข่าวหรือไม่ เพราะให้ต่อเนื่อง และมากผิดปกติ ในขณะที่ ศ.สมหวัง ทำหน้าที่รักษาการผู้อำนวยการ สมศ. เท่านั้น
          เจอเข้าไปหลายดอกขนาดนี้ เล่นเอา ศ.สมหวัง คงต้องกลับไปตั้งหลักกันใหม่
          ล่า สุด ผลการประเมินสถาบันอุดมศึกษากลุ่ม 2 ซึ่งเน้น "การผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม" 101 แห่ง ถูกประกาศออกมา ปรากฏว่าจัดการศึกษาได้คุณภาพ 98 แห่ง รอพินิจ 2 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และมหาวิทยาลัยลุ่มน้ำปิง และไม่ได้รับการรับรองอีก 1 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด ซึ่งขณะนี้ได้ปรับปรุงหลายๆ ด้าน รวมถึง เปลี่ยนตัวอธิการบดี
          สำหรับ คุณภาพระดับสถาบัน อยู่ระดับดีมาก 26 แห่ง ระดับดี 74 แห่ง ควรปรับปรุง 1 แห่ง โดยสถาบันที่อยู่ในระดับดีมาก ส่วนใหญ่จัดการศึกษาเฉพาะทาง แต่สถาบันที่มีมาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ มีเปอร์เซ็นต์ค่อนข้างต่ำ คือ 22% และ 8% ส่วนที่มีมาตรฐานระดับดีมาก ด้านการบริการวิชาการ มี 56% การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 73% การพัฒนาสถาบันและบุคลากร 42% การประกันคุณภาพ 73% ส่วนหลักสูตรและการเรียนการสอน มีระดับดีมากเพียง 1 แห่ง หรือ 0.99% คือวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ส่วนสถาบันอื่นๆ 90% อยู่ในระดับดี
          จากนี้ต้องจับตาดูว่า การประกาศผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2 ในกลุ่มที่ 3 ที่เน้น "ด้านศิลปะและวัฒนธรรม" 15 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษากลุ่มที่ 4 ที่เน้น "การผลิตบัณฑิตโดยตรง" 65 แห่ง จะน่า "หวาดเสียว" สักแค่ไหน
          โดยผลที่ออกมา จะยังคง "ขัดใจ" มหาวิทยาลัย และ "ขัดความรู้สึก" มหาชน...อีกหรือไม่!!

[[Source|http://www.iqnewsclip.com/selection/newsstory.aspx?nid=7EBA4930846BB6B5CF483D8C1E5B081C]]
[img[http://www.thairath.co.th/media/content/2009/05/04/300/3791.jpg]]
รองอธิการบดี มศว.ติงเอาเนื้อหนูปะเนื้อช้างมากกว่า อีกทั้งการให้เงินรัฐบาลยืมก็ต้องคำนึงถึงดอกเบี้ย ดังนั้นเรื่องนี้ต้องหารือกันในรายละเอียดอีกมาก

วันนี้ ดร.สุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา(กกอ.) กล่าวถึงกรณีกรมบัญชีกลางมีแนวคิดจะยืมเงินนอกงบประมาณ ได้แก่ เงินได้ของมหาวิทยาลัยของรัฐ เช่น เงินจากการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา มาเสริมสภาพคล่องของภาครัฐในปี 2553 ว่า เรื่องนี้เป็นอำจาจของสภามหาวิทยาลัยที่จะอนุมัติว่าจะนำเงินมาใช้อะไรบ้าง ซึ่งตนคิดว่าเฉพาะเงินค่าลงทะเบียนเรียนที่เป็นรายได้ของมหาวิทยาลัยในแต่ละ ปีนั้นไม่น่าจะมากโดยเฉลี่ยตกหัวละประมาณ 1 หมื่นบาทต่อคน เมื่อมหาวิทยาลัยได้เงินส่วนนี้มาต้องเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติเพื่อนำออก มาใช้จ่ายประกอบกับงบประมาณแผ่นดินที่ได้รับในแต่ละปี ซึ่งเมื่อรวมสองส่วนนี้แล้วจะไม่ค่อยเพียงพอกับการบริหารจัดการของ มหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ

ส่วนเงินลงทะเบียนจากหลักสูตรพิเศษนั้นยิ่ง ไม่น่าจะนำมาใช้ได้เพราะ มหาวิทยาลัยที่เปิดหลักสูตรนี้จะไม่มีงบประมาณจากรัฐอุดหนุนเหมือนหลักสูตร ปกติทำให้จะต้องนำเงินที่ได้จากการลงทะเบียนไปใช้จ่ายทั้งหมด คิดว่าเงินที่เหลือของมหาวิทยาลัยน่าจะเป็นเงินรายได้ที่แต่ละแห่งเก็บออม ไว้ ซึ่งไม่สามารถบอกได้ว่ามีทั้งหมดเท่าไรเนื่องจากแต่ละแห่งไม่ต้องรายงาน ตัวเลขให้สกอ.ทราบ ทั้งนี้หากรัฐบาลมีนโยบายที่จะนำเงินส่วนนี้มาใช้ก็ขึ้นอยู่กับสภา มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งที่จะอนุมัติ

ด้าน รศ.วรากรณ์ สามโกเศศ อดีตรมช.ศึกษาธิการ กล่าวว่า ตนเห็นด้วยที่รัฐจะนำเงินส่วนนี้มาใช้เพื่อเสริมสภาพคล่อง ทั้งนี้ตามวิธีทางการคลังก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องผิดปกติ เพราะหลายประเทศก็ใช้วิธีการนี้ และในอดีตประเทศไทยก็เคยใช้วิธีนี้ หากมหาวิทยาลัยใดไม่สบายใจหรือเห็นว่าเสี่ยงก็ไม่ให้ยืมก็ได้ ถ้ารัฐบาลจะนำเงินส่วนนี้ออกมาใช้จริงก็ต้องกำหนดเวลาในการใช้คืนใน ปีงบประมาณต่อไปทันที

ขณะที่ น.พ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าวว่า มศว ยินดีที่จะหารือกับทางรัฐบาล แต่ไม่แน่ใจว่าสถาบันการศึกษาจะมีเงินพอให้รัฐบาลยืมหรือไม่ เพราะเงินรายได้ของแต่ละมหาวิทยาลัยแม้จะมีเหลือและนำไปฝากธนาคารก็ไม่ได้ หมายความว่าจะไม่ใช้เงินส่วนนี้ คิดว่าเมื่อนำเงินมารวมกันคงมีไม่ถึงแสนล้านบาท ซึ่งจะเป็นการนำเนื้อหนูไปปะเนื้อช้างมากกว่า อีกทั้งการให้เงินรัฐบาลยืมก็ต้องคำนึงถึงดอกเบี้ย ดังนั้นเรื่องนี้ต้องหารือกันในรายละเอียดอีกมาก.

[[Source|http://www.thairath.co.th/content/edu/3791]]
[img[http://pics.manager.co.th/Images/552000005159301.JPEG]]
ขณะนี้ทั่วโลกกำลังตื่นตระหนกกับการระบาดของ โรค "ไข้หวัดใหญ่เม็กซิโก" ที่มีผู้เสียชีวิตไปแล้วกว่า 150 ราย และแพร่กระจายข้ามทวีปไปยังหลายประเทศแล้ว แต่นี่ไม่ใช่ครั้งแรก ที่มีการระบาดของโรคที่เกิดจากไวรัส และมีต้นตอมาจาก "สัตว์สู่คน" และอาจจะไม่ใช้ครั้งสุดท้ายด้วยเช่นกัน ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTVผู้จัดการออนไลน์ มีรายงาน

ช่วงระยะหลังมานี้ มีโรคแปลกประหลาดที่ไม่เคยพบมาก่อนปรากฏขึ้นและสร้างความตื่นตะหนกต่อผู้คน ทั่วโลกอยู่บ่อยครั้ง จึงกลายเป็นประเด็นของโรคอุบัติใหม่ แถมพ่วงด้วยโรคเก่า ที่กลับมาอุบัติซ้ำเป็นระลอกใหม่ ที่ทั่วโลกจะต้องเฝ้าระวังและเตรียมพร้อมรับมือการระบาดที่อาจเกิดขึ้นได้ ทุกเวลาในยุคการสื่อสารไร้พรมแดน

แค่ ช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีที่ผ่านมา มีโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้นแล้วหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นโรคซาร์ส ที่พบครั้งแรกในประเทศจีนราวปลายปี 2545 และแพร่กระจายไปทั่วโลก จนมีผู้ติดเชื้อหลายพันราย และมีผู้เสียชีวิตร่วม 800 ราย แต่ในที่สุดก็สามารถควบคุมสถานการณ์และหมดไปในปี 2546

ต่อจากนั้นไม่นานโรคไข้หวัดนกก็ระบาดในสัตว์ปีก และสามารถติดต่อสู่คนได้ แต่ยังไม่พบการติดต่อจากคนสู่คน จึงยังไม่แพร่กระจายในวงกว้าง แต่ก็จัดว่าเป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง เพราะมีอัตราการเสียชีวิตถึง 60%

จนมาถึงล่าสุด กับโรคไข้หวัดใหญ่เม็กซิโก ที่แพร่กระจายข้ามทวีปจากเม็กซิโก ไปสหรัฐฯ แคนาดา และมาถึงฝั่งยุโรปเรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้ติดเชื้อแล้วเกือบ 2,000 ราย และเสียชีวิตไปกว่า 150 ราย แต่ก็ยังถือว่ารุนแรงน้อยกว่าไข้หวัดนก 10 เท่า เพราะอัตราการเสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่เม็กซิโกเพียง 6.4% เท่านั้น

ทว่าโรคร้ายที่แพร่มาจากสัตว์สู่คนมีมากมายหลายชนิด และมีมาตั้งแต่อดีตแล้ว ซึ่งบางโรคก็สามารถควบคุม ป้องกัน หรือรักษาให้หายได้ แต่ก็ยังต้องเฝ้าระวังไม่ให้กลับมาอุบัติซ้ำได้อีก บางโรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คนแล้วหยุดแค่นั้น ไม่มีการติดต่อจากคนสู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้า ขณะที่บางโรคติดต่อจากคนสู่คนต่อไปได้อีกโดยอาศัยพาหะเป็นสัตว์บางชนิด เช่น ไข้เลือดออก หรือไม่จำเป็นต้องอาศัยพาหะอีกต่อไป เช่น โรคอีโบลา โรคเอดส์

ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการ ศูนย์ความร่วมมือองค์การอนามัยโลกไวรัสสัตว์สู่คน ให้ข้อมูลกับทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTVผู้จัดการออนไลน์ ว่าในปี 2548 องค์การอนามัยโลก ได้มีการจัดอันดับโรคอุบัติใหม่ในคน โดยพบว่ามีเชื้อโรคในคนมากกว่า 1,400 ชนิด

3 ใน 4 ของจำนวนนี้ เป็นโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน และเป็นโรคอุบัติใหม่หรืออุบัติซ้ำจำนวน 177 ชนิด ในจำนวนนี้ 37% เป็นโรคที่เกิดจาก อาร์เอ็นเอไวรัส (RNA virus) ซึ่งอาร์เอ็นเอไวรัสในกลุ่มนี้จำนวน 49% ก่อให้เกิดโรคสมองอักเสบ ส่วนที่เหลือเป็นโรคที่เกิดในระบบอื่นๆ เช่น โรคซาร์ส, ไข้หวัดนก และไข้หวัดหมู

ส่วนโรคไข้หวัดใหญ่เม็กซิโก ที่เปลี่ยนชื่อมาจากโรคไข้หวัดหมูที่เรียกในตอนแรก จากการตรวจวิเคราะห์ลำดับพันธุกรรมทำให้นักวิจัยพบว่าโรค ดังกล่าวเกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ เอช1เอ็น1 (H1N1) หรือเชื้อไวรัสไข้หวัดหมู แต่ไม่ใช่เชื้อไข้หวัดหมูธรรมดา ทว่าเป็นเชื้อไข้หวัดหมูกลายพันธุ์ที่มียีนคล้ายกับเชื้อไข้หวัดนกและไข้ หวัดคนผสมรวมอยู่ด้วย และยังสามารถติดต่อจากคนสู่คนได้ แต่ไม่ทำให้หมูที่ติดเชื้อนี้ป่วยเป็นโรคแต่อย่างใด นับว่าเป็นการกลายพันธุ์ของเชื้อครั้งมโหฬารทีเดียว

โรคไข้หวัดหมูสายพันธุ์นี้ถือว่าเป็นโรคอุบัติใหม่ จากที่พบการระบาดครั้งแรกในช่วงปี 2460-2461 ที่เรียกว่าไข้หวัดใหญ่สเปน ซึ่งเกิดจากเชื้อ H1N1 (เชื้อไข้หวัดหมูสายพันธุ์ดั้งเดิม) และทำให้มีผู้เสียชีวิตทั่วโลก 20-40 ล้านคน หลังจากนั้นก็พบผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากเชื้อโรคดังกล่าวอยู่เนืองๆ และเริ่มสงสัยว่าเชื้อไข้หวัดหมูอาจมีการกลายพันธุ์

จนกระทั่งใน ปี 2541 พิสูจน์ได้ครั้งแรกว่าหมูที่เลี้ยงในฟาร์มแห่งหนึ่งในสหรัฐฯ มีเชื้อไวรัสไข้หวัดหมูกลายพันธุ์ที่มีพันธุกรรมผสมระหว่างหมู คน และนก หรือ 3 เกลอ ซึ่งพบเกิดขึ้นแล้วในหลายประเทศ โดยสันนิษฐานว่าอาจเกิดขึ้นเมื่อหมูติดเชื้อไข้หวัดหมู, คน และนก ในเวลาเดียวกัน ทำให้ไวรัสมีการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนยีนกันจนเกิดการกลายพันธุ์ และปรับตัวเรื่อยมาจนสามารถติดต่อจากคนสู่คนได้โดยไม่ต้องผ่านหมู ซึ่งเชื้อไข้หวัดใหญ่เม็กซิโกที่ระบาดอยู่ขณะนี้แตกต่างไปจากเชื้อกลาย พันธุ์ 3 เกลอ ที่เคยพบมาก่อนหน้านั้น

"โอกาสที่เชื้อนี้จะกลายพันธุ์และทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นหรือไม่นั้น บอกได้ยาก ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับตัวของเชื้อ ซึ่งเมื่อไวรัสผ่านจากคนสู่คนหลายๆ ครั้ง ร่างกายของคนก็จะเริ่มมีภูมิคุ้มกันมาต้านทานเชื้อ ส่วนเชื้อไวรัสก็ต้องการอยู่รอด จึงต้องพยายามปรับตัวเองให้หลบหลีกภูมิคุ้มกันได้ เพิ่มความสามารถให้แพร่พันธุ์ต่อไปได้รวดเร็วและมากขึ้น อยู่ในอากาศได้นาน และจับกับตัวรับบนผิวเซลล์ในระบบทางเดินหายใจได้ดียิ่งขึ้น" ศ.นพ.ธีรวัฒน์ อธิบาย

อย่างไรก็ตาม นอกจากโรคไข้หวัดหมูกลายพันธุ์ที่กล่าวมา ยังมีโรคติดเชื้อไวรัสที่แพร่จากสัตว์สู่คนอีกหลายโรคที่ต้องเฝ้าระวังมาก ไม่น้อยไปกว่ากัน เช่น โรคสมองอักเสบจากไวรัสนิปาห์ (Nipah virus) ซึ่งมีค้างคาวเป็นพาหะ

"สมัยก่อนไวรัสนิปาห์จากค้างคาวจะแพร่สู่หมู แล้วจึงติดต่อมาสู่คน แต่ระยะหลังพบว่าสามารถติดต่อจากค้างคาวสู่คน และจากคนสู่คนได้เลย ถือเป็นการพัฒนาขั้นสูงสุดของไวรัสแล้วที่จะสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้ ซึ่งล่าสุดพบการระบาดจากคนสู่คนในบังกลาเทศเมื่อปีที่แล้ว แต่ยังไม่ติดต่อได้ง่ายเท่ากับโรคไข้หวัดหมู ทว่ามีความรุนแรงกว่ามาก ตั้งแต่พบโรคนี้ครั้งแรกในมาเลเซียเมื่อปี 2541 จนถึง 2551 มีผู้ป่วยแล้ว 477 ราย และเสียชีวิตไปแล้ว 248 ราย อัตราการตายสูงถึง 52%" นพ.ธีรวัฒน์เผยข้อมูล และจากการสำรวจค้างคาวในประเทศไทยก็พบว่ามีเชื้อไวรัสนิปาห์อยู่เยอะพอสมควร

ยิ่งกว่านั้นในค้างคาวยังเป็นรังของโรคอื่นๆ ได้อีกมาก เพราะในค้างคาวเป็นแหล่งผลิตเชื้อไวรัสได้มากกว่า 80 ชนิด รวมทั้งไข้หวัดใหญ่ อีโบลา และซาร์สด้วย ซึ่งในขณะนี้เราอาจไม่รู้ว่าค้างคาวกำลังแพร่เชื้อโรคใดมาสู่มนุษย์อีกหรือ เปล่า ส่วนหมูนั้นสามารถรับเชื้อเข้าไปได้หลายชนิดโดยไม่ป่วยหรือแสดงอาการใดๆ แต่สามารถแพร่เชื้อมาสู่คนได้ จึงนับว่าเป็นตัวพาหะและโรงงานผลิตเชื้อไวรัสที่สำคัญมากที่จะแพร่เชื้อโรค มาสู่คน รวมทั้งโรคไข้สมองอักเสบเจอีด้วยเช่นกัน

อย่างไรก็ดี ผอ.ศูนย์ความร่วมมือองค์การอนามัยโลกไวรัสสัตว์สู่คน บอกว่า แนวโน้มโรคจากสัตว์สู่คนในอนาคตนั้นจะยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น เพราะคนและสัตว์ใกล้ชิดกันมากขึ้น จากการที่คนเราเข้าไปบุกรุกพื้นที่ป่า หรือชอบนำสัตว์ป่าหรือสัตว์แปลกๆ มาเลี้ยง หรือนำมาเป็นอาหาร ทำให้เชื้อโรคจากสัตว์มีโอกาสกลายพันธุ์และแพร่สู่คนได้ง่ายขึ้น เช่น กรณีของโรคซาร์ส ที่เกิดขึ้นเพราะคนไปกินชะมด ส่วนภาวะโลกร้อนนั้นก็อาจมีส่วนเกี่ยวข้องอยู่บ้าง เนื่องจากโรคอุบัติใหม่มักเกิดขึ้นในช่วงที่สภาพภูมิอากาศแปรปรวน.

[[Source|http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000048283]]